Page 54 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 54

2-52 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

       6. 	จัด​ให้​มี​การ​ฝึก​อบรม​ใน​งาน (on-the-job) แบบ​สมัย​ใหม่​โดย​เน้น​การ​ศึกษา​เพื่อ​การ​พัฒนา​และ​ปรับปรุง​
ตนเอง

       7. 	ปรับปรุงแ​ ละ​พัฒนา​ภาวะก​ าร​ปกครอง​บังคับบ​ ัญชาเ​พื่อ​นำ​ไปส​ ู่​ภาวะ​ผู้นำ​ที่​มี​แรงก​ ระตุ้น
       8. 	ขจัดค​ วาม​หวาด​กลัวข​ อง​พนักงานแ​ ละ​จัด​ให้ม​ ี​การเ​รียน​รู้
       9. 	ขจัด​ปัญหาค​ วาม​ไม่​เข้าใจ​กันร​ ะหว่าง​หน่วย​งานห​ รือ​ฝ่ายต​ ่างๆ และเ​น้นท​ ี่​การท​ ำงานเ​ป็นท​ ีม
       10. 	ขจัดก​ ารม​ ุ่งท​ ี่เ​ป้าห​ มายเ​ชิงต​ ัวเลขแ​ ละค​ ำขวัญต​ ่างๆ แต่ห​ ันม​ าเ​น้นว​ ิธีก​ ารเ​รียนร​ ู้เ​กี่ยวก​ ับก​ ระบวนการแ​ ละ​
ค้นหาว​ ิธี​การ​เพื่อก​ ารป​ รับปรุง​ให้ด​ ี​ขึ้น
       11. 	แก้ไขแ​ ละ​หรือป​ รับปรุง​วิธีก​ าร​ใน​การ​ทำงานอ​ ย่าง​สม่ำเสมอ
       12. 	จัดใ​ห้ม​ ี​การฝ​ ึกอ​ บรมพ​ นักงาน​ทุก​ระดับอ​ ย่างข​ นานใ​หญ่​เพื่อ​ให้​เรียนร​ ู้​วิธีก​ าร​เชิงส​ ถิติ
       13. 	จัดฝ​ ึกอ​ บรม​ให้​ทักษะใ​หม่ๆ แก่พ​ นักงาน
       14.	 สร้างโ​ครงสร้าง​เพื่อใ​ห้การส​ นับสนุน​และผ​ ลัก​ดัน​ให้เ​กิด​การเ​ปลี่ยนแปลง

การ​ปรบั ปรุง​อย่างต​ ่อเ​น่ือง (Continuous Improvement)

       การ​ปรับปรุง​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​เป็น​ความ​พยายาม​ของ​องค์การ​ที่​จะ​รักษา​ความ​ได้​เปรียบ​ใน​เชิง​คุณภาพ​ไว้ โดย​
มอง​หา​วิธี​การ​ใหม่ๆ ซึ่ง​จะ​นำ​เพิ่ม​เข้า​มา​ใช้​เพื่อ​ปรับปรุง​ผล​การ​ปฏิบัติ​การ​ที่​เป็น​อยู่​ใน​ปัจจุบัน​ให้​ดี​ขึ้น​ไป​เรื่อยๆ ใน​
ความพ​ ยายามด​ ังก​ ล่าวม​ ีค​ วามจ​ ำเป็นต​ ้องท​ ำค​ วบคู่ก​ ับเ​ทคนิค “benchmarking” ด้วย ในเ​ทคนิค benchmarking นี้​
องค์การจ​ ะเ​ปรียบต​ ัวเ​องใ​นด​ ้านต​ ่างๆ กับอ​ งค์การท​ ีม่​ ปี​ ระสิทธิภาพด​ ที​ ี่สุดใ​นอ​ ุตสาหกรรมเ​ดียวกันห​ รือใ​นอ​ ุตสาหก​ รร​ ม​
อืน่ ๆ และใ​ชเ้​ปน็ แ​ นวทางใ​นก​ ารป​ รับปรงุ ก​ ระบวนการผ​ ลติ แ​ ละป​ ฏิบตั กิ​ ารข​ องต​ นเอง อย่างไรก​ ด​็ ห​ี ากม​ ใี​นบ​ างป​ ฏบิ ัตกิ​ าร​
ซึง่ ค​ นอ​ ืน่ ส​ ามารถท​ ำไดด​้ ก​ี วา่ ก​ อ​็ าจพ​ จิ ารณาใ​หค​้ นอ​ ืน่ ท​ ำแ​ ทนไ​ด้ (outsourcing) นอกจากน​ กี​้ ารป​ รบั ปรงุ อ​ ยา่ งต​ อ่ เ​นือ่ งจ​ ะ​
เกิดผ​ ลไ​ด้ ยังม​ คี​ วามจ​ ำเป็นต​ ้องใ​ชแ้​ นวคิดข​ องก​ ลุ่มค​ วบคุมค​ ุณภาพ เพื่อเ​น้นก​ ารม​ สี​ ่วนร​ ่วมข​ องพ​ นักงานค​ วบคูไ่​ปด​ ้วย
การค​ วบคมุ ค​ ณุ ภาพด​ งั ก​ ลา่ วค​ อื ก​ ลุม่ ข​ องพ​ นกั งานใ​นร​ ะดบั ต​ า่ งๆ กลุม่ ล​ ะโ​ดยท​ ัว่ ไปป​ ระมาณไ​มเ​่ กนิ 10 คน ซึง่ จ​ ะป​ ระชมุ ​
กัน​เป็น​ประจำ​เพื่อ​ถก​กัน​ใน​ปัญหา​การ​ปฏิบัติ​การ​ต่างๆ และ​แนวทาง​ที่​เห็น​ร่วม​กัน​ว่า​ควร​ดำเนิน​การ​เพื่อ​การ​ปรับปรุง​
แก้ไข แนวคิดข​ อง​กลุ่ม​ควบคุม​คุณภาพ​เพื่อก​ าร​ปรับปรุงอ​ ย่าง​ต่อ​เนื่อง​นิยม​ใช้​กัน​มาก​ใน​การจ​ ัดการ​ของญ​ ี่ปุ่น

การ​ร้อื ​ปรบั ​ระบบ (Reengineering)59

       การ​ปรับปรุง​คุณภาพ​ดัง​กล่าว​แล้ว​ตาม​วิธี​ที่​เส​นอ​โดย​เดม​มิ่ง หรือ​วิธี​การ​ปรับปรุง​อย่าง​ต่อ​เนื่อง​ตาม​วิธี​ของ​
ญี่ปุ่น เป็นการป​ รับปรุงแ​ บบค​ ่อยเ​ป็นค​ ่อยไ​ปท​ ีล​ ะข​ ั้นล​ ะต​ อน แต่ก​ ารร​ ื้อป​ รับร​ ะบบ ซึ่งน​ ำเ​สนอโ​ดย Michael Hammer
เป็นการป​ รับปรุง​คุณภาพแ​ บบท​ ั้ง​ระบบใ​นค​ รั้ง​เดียว แฮม​เมอ​ ร์ (Hammer) เสนอ​ว่าการ​จะ​มีก​ ารป​ รับปรุง​ที่​เห็นผ​ ลจ​ ะ​
ต้อง “ออกม​ า​จากก​ ฎเ​กณฑ์ และ​สมมติ​ฐาน​เก่าๆ ที่​ล้าส​ มัย” และท​ ำการค​ ิด​ใหม่​ทั้ง​ระบบ​และ​ทุกก​ ระบวนการห​ ลัก​การ​
ของก​ าร​รื้อป​ รับ​ระบบ​ที่แ​ ฮมเ​มอ​ ร์เ​สนอ​มี 7 หลักก​ าร​ดังนี้

       1. 	จัดโ​ครงสร้างใ​ห้​เน้นท​ ี่​ผลลัพธ์ (outcome) ตามห​ ลัก​การ​นี้​จะก​ ำหนดผ​ ู้รับผ​ ิด​ชอบ​เป็น​หนึ่ง​คน​หรือ 1 ทีม​
รับผ​ ิด​ชอบ​ดำเนิน​การ​ครบ​ทุกข​ ั้น​ตอน​ในก​ ระบวนการ และ​รับ​ผิด​ชอบใ​นผ​ ล​ที่อ​ อก​มาจ​ ากก​ ระบวนการน​ ั้น ซึ่งแ​ ตกต​ ่าง​
จากเ​ดิมท​ ี่​จะก​ ำหนด​ผู้รับผ​ ิดช​ อบ​ใน​ขั้นต​ อน​ต่างๆ ของ​กระบวนการ แต่ละ​คน​จะ​รับ​ผิด​ชอบ​เพียงใ​น​แต่ละข​ ั้น​ตอนข​ อง​
กระบวนการเ​ท่านั้น ไม่มีผ​ ู้รับ​ผิดช​ อบ​ในผ​ ลร​ วมข​ อง​กระบวน

       2. 	การ​กำหนด​ให้​หน่วย​งาน​ผู้​ใช้​ผลผลิต​จาก​กระบวนการ​ใด เป็น​ผู้รับ​ผิด​ชอบ​ใน​การ​ปฏิบัติ​การ​ต่างๆ ของ​
กระบวนการซ​ ึ่งก​ ่อเ​กิดผ​ ลผลิตน​ ั้น หลักก​ ารน​ ี้จ​ ะม​ ีผ​ ลท​ ำให้บ​ ุคคลห​ รือท​ ีมง​ านแ​ สวงหาค​ วามเ​ชี่ยวชาญใ​นข​ อบว​ งท​ ี่ก​ ว้าง​
ขึ้น​และ​ทำให้ต​ ้องท​ ำการ​ประสาน​ปฏิบัติ​การ​ต่างๆ เข้าด​ ้วย​กันม​ ากกว่าเ​ดิม

                             ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59