Page 57 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 57

ทฤษฎี​องค์การ​และก​ ารจ​ ัดการ 2-55

       4. 	ความส​ มั พนั ธแ​์ บบก​ งึ่ ถ​ าวร ความส​ ัมพันธข์​ องอ​ งค์การใ​นเ​ครือข​ ่ายจ​ ะม​ ลี​ ักษณะไ​มเ่​ป็นท​ างการแ​ ละไ​มถ่​ าวร
โดย​มีค​ วามส​ ัมพันธ์​ในล​ ักษณะพ​ ึ่งพา​กันแ​ ละ​กัน แต่ใ​น​ขณะ​เดียวกันก​ ็​สามารถอ​ ยู่​ได้โ​ดย​ไม่​ต้องพ​ ึ่งพา​กัน

       5. 	ขอบเขตอ​ งคก์ ารแ​ บบค​ ลมุ เครอื องค์การ​เสมือนจ​ ริงจ​ ะแ​ สดงข​ อบเขตข​ องอ​ งค์การแ​ บบค​ ลุมเครือห​ รือแ​ บบ​
หลวมๆ ซึ่ง​แตก​ต่าง​จาก​องค์การ​ดั้งเดิม​ที่​มี​ขอบเขต​ของ​องค์การ​ชัดเจน​ว่า​เริ่ม​ต้น​ที่ไหน​และ​จบ​ลง​ที่ไหน ใน​องค์การ​
เสมือน​จริง​เรา​อาจ​จะ​เห็น​ถึง​ความ​ร่วม​มือ​แม้​กระทั่ง​กับ​คู่​แข่งขัน​หรือ​กับ​ลูกค้า ผู้​ขาย​วัตถุดิบ​และ​อื่นๆ ได้​ตลอด​เวลา
แต่ใ​น​องค์การ​แบบ​ดั้งเดิมจ​ ะ​ไม่​เห็น​ภาพ​ดังก​ ล่าว

       6. 	ระบบ​เทคโนโลย​ีข้อมลู ท​ ​ี่ซบั ซ​ อ้ น​หลาย​ช้นั ​เป็น​พืน้ ฐ​ าน การ​ใช้​เทคโนโลยี​คอมพิวเตอร์​ที่ซ​ ับซ​ ้อน​หลายชั้น​
เพื่อ​เป็น​เครื่อง​มือ​พื้น​ฐาน​ให้​กับ​ระบบ​ข้อมูล​ต่างๆ เป็น​สิ่ง​จำเป็น​ของ​การ​รวม​กัน​เป็น​องค์การ​เสมือน​จริง เนื่องจาก​
องค์การอ​ ิสระต​ ่างๆ จะอ​ ยูแ่​ ยกจ​ ากก​ ันเ​ป็นร​ ะยะท​ างไ​กลๆ แตจ่​ ะต​ ้องม​ กี​ ารป​ ระสานง​ านก​ ันท​ ีร่​ วดเร็วแ​ ละม​ ปี​ ระสิทธิภาพ​
เพื่อ​เชื่อมโ​ยง​บทบาทท​ ี่จ​ ะ​เสริม​กัน​และก​ ันไ​ด้

       7. 	การเ​ปน็ เ​จา้ ของร​ ว่ ม องค์การเ​สมือนจ​ ริงจ​ ะม​ ีล​ ักษณะข​ องก​ ารท​ ี่อ​ งค์การอ​ ิสระต​ ่างๆ เข้าม​ าร​ ่วมเ​ป็นเ​จ้าของ​
โดยที่​แต่ละ​องค์การ​อิสระ​ก็​อาจ​มี​เจ้าของ​ร่วม​ที่​แตก​ต่าง​กัน​ไป ถ้า​องค์การ​อิสระ​แห่ง​ใด​คิด​ว่าการ​เข้า​มา​อยู่​ร่วม​เป็น​
องค์การเ​ครือข​ ่าย​ไม่​ได้​นำ​มา​ซึ่ง​ประโยชน์ม​ ากพ​ อ​ก็อ​ าจ​ถอน​ตัวอ​ อก​ไป และ/​หรือ​องค์การอ​ ิสร​ ะ​อื่นๆ ที่ส​ นใจ​ก็อ​ าจ​เข้า​
มา​เป็น​เจ้าของ​ร่วมใ​นอ​ งค์การ​เสมือน​จริงเ​พิ่มอ​ ีกก​ ็ได้ องค์การเ​สมือน​จริงจ​ ึง​มี​ลักษณะท​ ี่อ​ งค์การ​อิสร​ ะ​อื่นๆ อาจ​เข้าม​ า​
ร่วมเ​ป็นเ​จ้าของไ​ด้ท​ ุกเ​วลาเ​มื่อเ​งื่อนไขเ​ปิด​ให้

       8. 	การ​มคี​ วาม​ไวใ้ จก​ ันเ​ป็นพ​ ืน้ ฐ​ าน ในอ​ งค์การ​เสมือน​จริง​ความส​ ัมพันธ์​จะเ​ป็นแ​ บบห​ ลวม (Dynamic Net-
work) ไมเ่​ป็นท​ างการแ​ ละไ​มถ่​ าวร ดังน​ ั้นอ​ งค์การอ​ ิสระต​ ่างๆ ทีอ่​ ยูใ่​นเ​ครือข​ ่ายซ​ ึ่งจ​ ะต​ ้องร​ ่วมร​ ับค​ วามเ​สี่ยงร​ ่วมใ​ชภ้​ าวะ​
ผู้นำ และ​ร่วมไ​ด้ร​ ับ​ความ​จงรักภ​ ักดีจ​ ากล​ ูกค้าด​ ้วย​กัน​จึงม​ ี​ความ​จำเป็นต​ ้อง​มีค​ วาม​ไว้​เนื้อ​เชื่อ​ใจ​กัน​เป็นพ​ ื้น​ฐาน

       9. 	ไม่มี​โครงสร้าง​ท่ี​เป็น​ทางการ องค์การ​เสมือน​จริง​จะ​ไม่มี​โครงสร้าง​ที่​เป็น​ทางการ​หรือ​อาจ​กล่าว​ได้​ว่า​ไม่มี​
โครงสร้าง​การ​บริหาร​เลย โดย​เป็น​องค์การ​ที่​ไร้​รูป​แบบ (Metaorganization) ที่​ใช้​การ​บริหาร​จัดการ​แบบ Meta
management ของอ​ งค์การ​อิสระ​ต่างๆ เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การบ​ รรลุ​วัตถุประสงค์ข​ องอ​ งค์การ​เสมือน​จริง

       10. 	มี​การก​ระ​จาย​ตัว​ท่ัว​โลก องค์การ​เสมือน​จริง​มัก​จะ​เป็นการ​รวม​กลุ่ม​กัน​เป็น​เครือ​ข่าย​จาก​องค์การ​อิสระ​
ต่างๆ ทั้งใ​นธ​ ุรกิจเ​ดียวกัน ต่างธ​ ุรกิจ​กัน หรือ​ในธ​ ุรกิจ​ที่​มี​ความต​ ่อ​เนื่อง​กัน​จากท​ ั่ว​โลก

       11. 	จุด​มุ่ง​หมาย​เพื่อ​การ​ตอบ​สนอง​ลูกค้า การ​รวม​กลุ่ม​กัน​เป็น​องค์การ​เครือข​ ่าย​หรือ​องค์การ​เสมือน​จริง​มัก​
จะร​ วมก​ ันเ​พื่อม​ ุ่งต​ อบส​ นองค​ วามต​ ้องการข​ องล​ ูกค้าท​ ี่ม​ ีค​ วามแ​ ตกต​ ่างก​ ันใ​หไ้​ดค้​ รบส​ มบูรณ์ (Mass-customization)
ซึ่ง​การ​แยก​กัน​อยู่​เป็น​องค์การ​อิสระ​ไม่​สามารถ​จะ​ตอบ​สนอง​ความ​ต้องการ​ของ​ลูกค้า​ได้​อย่าง​สมบูรณ์ จึง​ต้อง​พึ่งพา​
บทบาทข​ อง​องค์การเ​สมือนจ​ ริง

       12. 	ใหค้​ วาม​สำคญั ​ทน​่ี วัตกรรม องค์การอ​ ิสระ​ต่างๆ ที่มา​รวมก​ ันเ​ป็น​องค์การ​เสมือน​จริง​ต่างใ​ห้​ความส​ ำคัญ​
กับน​ วัตกรรม​ซึ่งเ​ป็นอ​ งค์ป​ ระกอบ​ของค​ วาม​สามารถ​ในก​ ารแ​ ข่งขัน การร​ วม​ตัวก​ ัน​ช่วยท​ ำให้​การ​ดำเนิน​บทบาทใ​น​ด้าน​
การม​ ีนว​ ัตก​ รรม​สามารถท​ ำได้ง​ ่าย​ขึ้น

       นอกจากภ​ าพแ​ นวโ​น้มข​ องก​ ารใ​ช้อ​ งค์การเ​สมือนจ​ ริงเ​ป็นเ​ครื่องม​ ือใ​นก​ ารป​ รับต​ ัวใ​ห้เ​ข้าก​ ับก​ ระแสก​ ารแ​ ข่งขัน​
และ​การ​เปลี่ยนแปลง​แบบ​ก้าว​กระโดด​ของ​เทคโนโลยี​และ​รวม​ถึง​สภาพ​แวดล้อม​ต่างๆ ของ​ยุค​โลกา​ภิ​วัต​น์​แล้ว ยัง​
สามารถ​เห็นไ​ด้ถ​ ึงก​ าร​ปรับ​ตัวใ​น​ด้าน​ต่างๆ ของ​การอ​ อกแบบอ​ งค์การ​ของ​ยุค​โลกา​ภิว​ ัต​น์​ด้วย​ดังนี้

องคก์ ารพ​ ีระมิด​กลบั ห​ ัว (The upside-down pyramid)

       แนวคิด​ของ​การ​มี​โครงสร้าง​องค์การ​แบบ​พีระมิด​หรือ​แบบ​ดั้งเดิม ซึ่ง​เป็น​องค์การ​แบบ​ระบบ​ราชการ​ที่​ให้​
ความส​ ำคัญก​ ับผ​ ู้บ​ ริหารร​ ะดับส​ ูงเ​ป็นต​ ัวจ​ ักรส​ ำคัญใ​นก​ ารเ​ป็นผ​ ู้นำใ​นก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง และเ​ป็นผ​ ู้ก​ ำหนดน​ โยบายแ​ ละ​

                              ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62