Page 53 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 53

ทฤษฎี​องค์การ​และก​ ารจ​ ัดการ 2-51

การพ​ ัฒนาห​ รือส​ ร้างค​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารแ​ ข่งขัน (distinctive competencies) ทีเ่​หนือก​ ว่าค​ ูแ่​ ข่งขันแ​ ละน​ ำไ​ปส​ ูค่​ วาม​
ได้เ​ปรียบ​ทางการ​แข่งขัน ซึ่ง​จะ​มี​ผล​ทำให้อ​ งค์การส​ ามารถด​ ำเนินอ​ ยู่ไ​ด้ใ​นโ​ลกข​ อง​การ​แข่งขันโ​ดย​มีก​ ารเ​จริญเ​ติบโตท​ ี่​
ยั่งยืน​และม​ ี​ผล​กำไรจ​ ึงเ​ป็น​จุดม​ ุ่งห​ มายข​ อง​ทุก​องค์การ

       แนวคิดก​ ารจ​ ัดการท​ ีส่​ ามารถช​ ่วยใ​หอ้​ งค์การก​ ระทำใ​นส​ ิ่งท​ ีถ่​ ูกต​ ้อง ในย​ ุคโ​ลกาภวิ​ ัตน​ ์ ซึ่งไ​ดร้​ ับก​ ารย​ อมรับแ​ ละ​
ใช้​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​พัฒนา​องค์การ​เพื่อ​ให้​มี​การ​เจริญ​เติบโต​ที่​ยั่งยืน และ​มี​ความ​ได้​เปรียบ​ทางการ​แข่งขัน​สามารถ​
สรุป​ได้เ​ป็นแ​ นวทางด​ ้าน​ต่างๆ ดังนี้

ด้าน​การ​จัดการ​คณุ ภาพ

       ISO 9000 องค์การ​ที่​ผลิต​สินค้า​และ​บริการ​ใน​ตลาด​ระดับ​โลก (global market) มี​ความ​จำเป็น​ต้อง​ให้​
ความ​สนใจ​ใน​เรื่อง​ของ “คุณภาพ”   (quality) ของ​สินค้า​และ​บริการ และ​พัฒนา​เป็น​องค์​ประกอบ​ส่วน​หนึ่ง​ของ​
ความ​ได้​เปรียบ​เหนือ​คู่​แข่งขัน การ​ให้​เป็น​ที่​ยอมรับ​ใน​มาตรฐาน​ด้าน​คุณภาพ​ระดับ​โลก​จะ​ต้อง​ได้​รับ​ประกาศนียบัตร
ISO 9000 จาก​องค์การก​ ำหนด​มาตรฐาน​โลก (International Organization for Standardization) ที่เ​มืองเจนีวา
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มาตรฐาน ISO นี้​จะ​ถือ​เป็น​ตรา​ประทับ​รับ​ประกัน​ด้าน​คุณภาพ​กับ​สินค้า​และ​บริการ​ของ​
องค์การ องค์การท​ ี่​จะ​ได้ร​ ับ ISO 9000 จะ​ต้องพ​ ัฒนา​และ​ปรับปรุง​กระบวนการด​ ำเนินก​ ารต​ ่างๆ เพื่อ​ให้เ​กิด​คุณภาพ​
ตาม​มาตรฐาน ISO และ​จะ​ต้อง​ผ่าน​การ​ตรวจ​สอบ​และ​ประเมิน​จาก​ผู้​ตรวจ​สอบ​จาก​ภายนอก​อีก​ด้วย ISO 9000 ไม่​
ได้​เน้น​แต่​เพียง​คุณภาพ​ของ​ผลิตภัณฑ์​และ​บริการ แต่​เน้น​ใน​ภาพ​รวม​ของ​องค์การ​ทั้ง​ระบบ​ทั้ง​ด้าน​โครงสร้าง ความ​
รับ​ผิดชอบ กระบวนการ และ​ทรัพยากร​ที่​จะม​ ีไ​ว้​ใช้​ใน​การจ​ ัดการด้าน​คุณภาพ

การจ​ ดั การ​คณุ ภาพโ​ดย​รวม (Total Quality Management)

       การด​ ำเนนิ ก​ ารต​ ามแ​ นวค​ วามค​ ดิ ข​ องก​ ารจ​ ดั การค​ ณุ ภาพโ​ดยร​ วม เปน็ การด​ ำเนินก​ ารท​ เี่​น้นก​ ารจ​ ัดการคณุ ภาพ​
ทั่ว​ทั้ง​องค์การ เพื่อ​ให้​พนักงาน​ทุก​ระดับ​เกิด​ความ​ผูกพัน​และ​ผูกมัด และ​เกิด​การ​พัฒนา​ปรับปรุง​กระบวนการ​ทำงาน​
ในท​ ุกๆ ด้านอ​ ย่างส​ ม่ำเสมอแ​ ละต​ ่อเ​นื่อง เพื่อใ​ห้ส​ ามารถต​ อบส​ นองค​ วามต​ ้องการข​ องล​ ูกค้าไ​ด้อ​ ย่างส​ มบูรณ์ มีว​ ิธีก​ าร​
หลายว​ ิธซี​ ึ่งอ​ งค์การอ​ าจน​ ำม​ าใ​ชเ้​ป็นแ​ นวทางเ​พื่อก​ ารพ​ ัฒนาส​ ูแ่​ นวค​ ิดข​ องก​ ารจ​ ัดการค​ ุณภาพโ​ดยร​ วม แตว่​ ิธที​ ีไ่​ดร้​ ับก​ าร​
ยอมรับก​ ันอ​ ย่างก​ ว้าง​ขวาง​คือ แนวทาง​สู่​คุณ​ภาพ​ของ​เดม​ม่ิง (Deming’s path to quality) ซึ่ง​เสนอ​หลัก​การ​พื้น​ฐาน​
ว่า ปัญหา​ด้าน​คุณภาพ​อาจ​มี​สาเหตุ​จาก​องค์​ประกอบ​ของ​กระบวนการ​ผลิต​และ​ปฏิบัติ​การ​ทั้ง​จาก​พนักงาน​และ​/หรือ​
เครื่องจักร หรือ​สาเหตุ​อาจ​เกิด​จาก​ตัว​ระบบ​เอง ถ้า​ปัญหา​เกิด​จาก​พนักงาน​ก็​ควร​จัด​ให้​มี​การ​ศึกษา​อบรม​ใหม่​หรือ​จัด​
เปลี่ยน​คน​แทน ถ้า​เกิด​จาก​เครื่องจักร​ก็​ควร​มี​การ​ปรับ​แต่ง​หรือ​เปลี่ยน​เครื่องจักร​ใหม่​แต่​ถ้า​ปัญหา​เกิด​จาก​ตัว​ระบบ​
ก็​ไม่​ควร​โยน​ความผ​ ิด​พลาด​ให้​พนักงาน​เพื่อ​ให้​เกิด​ความเครียด​ขึ้น แต่​ควร​ทำการว​ ิเคราะห์แ​ ละ​ปรับ​แก้​ระบบก​ ัน​ใหม่
ข้อ​แนะ​นำ​ของเ​ดม​มิ่ง​สามารถ​สรุปไ​ด้เ​ป็น 14 หัวข้อ ดังนี้

       ข้อ​แนะนำ 14 ข้อข​ องเ​ดม​ม่งิ (Demming’s 14 points to quality)
       1. 	สร้าง​จุด​มุ่ง​หมาย​ของ​องค์การ​ให้​มุ่ง​ที่​การ​สร้าง​นวัตกรรม และ​จัดสรร​ทรัพยากร​เพื่อ​การ​วิจัย​และ​พัฒนา​
เพื่อ​การ​ศึกษา และ​เพื่อก​ าร​บำรุง​รักษาเ​ครื่องจักรอ​ ุปกรณ์แ​ ละ​เพื่อ​กระบวนการผ​ ลิต​ใหม่ๆ
       2. 	เรียน​รู้​เกี่ยว​กับ​ปรัชญาข​ องก​ าร​จัดการ​คุณภาพ​แนว​ใหม่​เพื่อ​การป​ รับปรุงร​ ะบบท​ ุกร​ ะบบ​ของอ​ งค์การ
       3. 	ใช้​สถิติเ​พื่อก​ ารค​ วบคุมก​ ระบวนการผ​ ลิตแ​ ละป​ ฏิบัติก​ ารแ​ ทนที่ก​ ารใ​ช้ต​ ัวเลขง​ บป​ ระมาณท​ างการเ​งินอ​ ย่าง​
เดียว
       4. 	ใช้ส​ ถิติเ​พื่อก​ าร​ควบคุม​การจ​ ัด​ซื้อ โดยย​ ึดห​ ลักก​ ารม​ ี​ผู้​ขายน​ ้อย​ราย
       5. 	ใช้ว​ ิธีก​ ารท​ างส​ ถิติเ​พื่อ​ค้นหา​ปัญหา

                              ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58