Page 48 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 48

2-46 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

       หลังจ​ ากท​ ี่​จำแนกบ​ ริษัทต​ ามส​ ภาวะข​ องเ​ทคโนโลยีท​ ั้ง 3 สภาวะแ​ ล้ว จึงไ​ด้ท​ ำการศ​ ึกษาต​ ัวแปรท​ ี่​เกี่ยวข้องก​ ับ​
องค์การ​เช่น​ใน​ด้านข​ อง​โครงสร้าง ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​คน และ​สถานภาพ​ใน​สภาวะ​ของเ​ทคโนโลยี​ต่างๆ ที่​จำแนก​ไว้
ซึ่ง​ปรากฏ​เป็นผ​ ลก​ าร​วิจัยเ​กี่ยวก​ ับต​ ัวแปร​ด้าน​โครงสร้างข​ อง​องค์การ​ดัง​ตารางท​ ี่ 2.2

                                  ตาราง​ท่ี 2.2 ผลก​ ารว​ จิ ัยข​ อง​วูด​วาร์​ด

  สภาวะของ           โครงสร้างองค์การ                      ความสมั พันธ์ระหวา่ งคน                             ตำแหน่งหนา้ ทซี่ ่ึงมี
   เทคโนโลยี                                                                                                     สถานภาพสงู
ผลิตตามสั่ง   ช่วงกา​รบัง​คับ​บัญชา​ของ​หัวหน้า​       กลุ่มข​ นาดเ​ลก็ ท​ ีม่​ ค​ี วามใ​กลช้​ ดิ ก​ ัน ม​ี
              คน​งาน: 21-30 คน ช่วง​การ​บังคับ​        การ​ร่วม​มือ​ร่วมใจ​กัน ทำงาน​ความ​                   แรงงานมีฝีมือ
ผลิตจำนวนมาก  บัญชา​ของผ​ ู้บ​ ริหาร​ระดับส​ ูง: 4 คน  สัมพันธ์​ระหว่าง​งาน​อยู่​ใน​ลักษณะ​                  คนเขียนแบบแปลน
              ระดับก​ ารบ​ ริหาร: 3 ระดับ              ตามส​ บายแ​ ละยึดหยุ่น                                นักบริหารอาชีพ
ผลิตตาม       การ​ใช้​โค​รงส​ ร้างคณะกรรมการ
กระบวนการ     ในระดับบริหาร: 12%                       ลักษณะ​หน้าที่ง​ านก​ ำหนดแ​ ยก​กัน​                  บุคลาก​ ร​ฝ่ายก​ าร​ผลิต
                                                       อย่างช​ ัดเจน​ความข​ ัดแ​ ย้งร​ ะหว่าง​               (หน่วยง​ านห​ ลัก​และ
              ช่วงการ​บังคับ​บัญชา​ของ​หัวหน้า         หน่วยง​ านห​ ลัก​และห​ น่วยช​ ่วย​                    ห​ น่วยช​ ่วยอำนวยการ)
              ค​ น​งาน: 41-50 คน                       อำนวยก​ ารค​ วามส​ ัมพันธ์ระหว่างคน
              ช่วง​การ​บังคับ​บัญชา​ของ​ผู้​บริหาร​    ในหน่วยงานไม่ค่อยดี                                   บุคคลฝ​ ่ายบ​ ำรุงร​ ักษา
              ระดับส​ ูง: 7 คน                                                                               ผู้บ​ ริหารว​ ัย​หนุ่มส​ าว​
              ระดับข​ องก​ าร​บริหาร: 4 ระดับ          ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​คนใน​หน่วย​                     ที่ม​ ีค​ วามสามารถ
              การใ​ช้​โคร​ งส​ ร้างค​ ณะกรรมการ        งานม​ ีล​ ักษณะค​ วามส​ ัมพันธ์ท​ ี่ด​ ี และ​
              ในระดับบริหาร: 32%                       คว​ ามขัดแย้งมีไม่มาก

              ช่วงการ​บังคับ​บัญชา​ของ​หัวหน้า​
              คน​งาน: 11-20 คน
              ช่วง​การ​บังคับ​บัญชา​ของ​ผู้​บริหาร​
              ระดับ​สูง: 10 คน
              ระดับ​ของก​ ารบ​ ริหาร: 6 ระดับ
              การใ​ช้​โค​รงส​ ร้าง​คณะกรรมการ
              ในระดับบริหาร: 80%

ที่มา: Fred Luthans, Organizational Behavior. Tokyo: McGraw-Hill Kogakusha, Ltd., 1981, p. 553.

       จาก​ผล​การ​วิจัย​ของ​วูด​วาร์​ด​ดัง​ตาราง​ที่ 2.2 พอ​จะ​สรุป​เกี่ยว​กับ​ผล​การ​วิจัย​นี้​ได้​ว่า​โครงสร้าง​ของ​องค์การ​จะ​
มี​ความ​แตก​ต่าง​ไป​ตาม​สภาวะ​ของ​เทคโนโลยี​แต่ละ​ชนิด เช่น ใน​สภาวะ​เทคโนโลยี​ที่​เป็นการ​ผลิต​ตาม​กระบวนการ​ซึ่ง​
มี​วิธี​การ​ทำงาน​ยุ่ง​ยาก​ซับ​ซ้อน​นั้น​จะ​มี​สาย​การ​บังคับ​บัญชา​ยาว​หรือ​มี​ระดับ​การ​บริหาร​หลาย​ระดับ ใน​ขณะ​ที่​สภาวะ​
เทคโนโลยท​ี เี​่ ปน็ การผ​ ลติ ต​ ามส​ ัง่ น​ ัน้ ส​ ายก​ ารบ​ งั คบั บ​ ญั ชาจ​ ะส​ ัน้ ก​ วา่ ค​ อื มร​ี ะดบั ก​ ารบ​ รหิ ารจ​ ำนวนต​ ำ่ ก​ วา่ ดงั น​ ัน้ โ​ครงสรา้ ง​
ของ​องค์การ​ใน​สภาวะ​เทคโนโลยี​แบบ​การ​ผลิต​ตาม​กระบวนการ​จึง​มี​ลักษณะ​เป็น​โครงสร้าง​แบบ​สูง ส่วน​โครงสร้าง​
องค์การใ​น​สภาวะ​เทคโนโลยี​แบบผ​ ลิต​ตาม​สั่งน​ ั้น​จะม​ ี​ลักษณะ​เป็น​โครงสร้างแ​ บบแนวร​ าบ

              ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53