Page 43 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 43
ทฤษฎีองค์การแ ละการจ ัดการ 2-41
3. การอ นมุ าน ทำการอ นุมานจ ากต ัวแ บบจ ำลองว ่าจ ะม พี ฤติกรรมเช่นใด ถ้าม กี ารเปลี่ยนแปลงไปจ ากเงื่อนไข
เดิม ซึ่งเคยท ำการสังเกตไว้
4. ทดสอบต วั แ บบจ ำลอง ทำการท ดสอบต วั แ บบจ ำลอง โดยก ารท ดลองก บั ร ะบบข องจ รงิ เพือ่ ด วู า่ ม พี ฤตกิ รรม
เปลี่ยนไปต ามที่พ ยากรณ์ไว้ในตัวแ บบจำลองห รือไม่
หลังช ่วงส งครามโลกค รั้งท ี่ 2 แนวค ิดก ารจ ัดการเชิงป ริมาณไดถ้ ูกน ำม าใชใ้นก ารแ กป้ ัญหาข องร ะบบก ารผ ลิต
ในโรงงานอ ุตสาหกรรมอ ีกค รั้งห นึ่ง ในป ี 1955 นักการจ ัดการในโรงงานอ ุตสาหกรรมได้ร ับเอาแ นวคิด และส ามารถน ำ
แนวคิดน ี้ไปใช้ในท างปฏิบัติในก ารแ ก้ป ัญหาได้อย่างเห็นผลแ ละได้รับความน ิยมกันอย่างก ว้างข วาง
ภายในช ่วงป ี 1965 มีก ารนำเอาแ นวคิดก ารจ ัดการเชิงป ริมาณม าใช้ก ันในบ ริษัทต ่างๆ ในว งท ี่ก ว้างไปจ ากก าร
ผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม โดยม ีการนำไปประยุกต์ใช้ในป ัญหาเกี่ยวก ับตารางเวลาก ารป ฏิบัติงาน การวางต ำแหน่ง
ทำเลที่ตั้ง และที่เกี่ยวกับการบรรจุภัณฑ์ ในปี 1980s จากการทำการสำรวจวิจัย46 พบว่ามีการนำเอาความคิดของ
การจ ัดการเชิงป ริมาณไปใช้ในบ ริษัทข นาดใหญ่ ซึ่งม ีป ัญหาก ารป ฏิบัติก ารต ่างๆ ที่ม ีค วามซ ับซ ้อนม ากกว่า และผ ลจ าก
การว ิจัยพ บว ่าจ ะม ีก ารท ำแ นวคิดเชิงป ริมาณน ี้ไปใช้ม ากข ึ้นในบ ริษัทห รืออ งค์การข นาดเล็กในช ่วงร ะหว่างป ี 1990s ซึ่ง
ปัจจุบันนี้เราจะสามารถพบเห็นการใช้ตัวแบบเชิงปริมาณ เช่น ตัวแบบการขนส่ง ตัวแบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ตัวแบบโครงข่ายปฏิบัติง าน (PERT/CPM) ตัวแ บบก ารจัดลำดับง าน และต ัวแ บบค วามน ่าจ ะเป็น (Probability) ใน
การแ ก้ปัญหาการตัดสินใจต ่างๆ ขององค์การภ าคธ ุรกิจได้โดยทั่วไป
กจิ กรรม 2.3.2
1. จุดกอ่ กำเนดิ แ นวคิดการจ ดั การเชิงป ริมาณเกดิ ขึ้นในช่วงใด
2. ลักษณะข องปญั หาทจ่ี ะนำแนวคดิ เชงิ ป ริมาณมาใชค้ วรเป็นเช่นใด
แนวต อบก จิ กรรม 2.3.2
1. จุดก่อกำเนิดของแนวคิดการจัดการเชิงปริมาณเกิดข้ึนในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งกองทัพ
พนั ธมิตรได้จัดต ั้ง OR group ขึน้ มาเพือ่ แ ก้ปญั หาในการตดั สนิ ใจต่างๆ ด้านก ารทหาร
2. ลกั ษณะข องปัญหาท ่ีจ ะส ามารถน ำแนวคิดเชงิ ปรมิ าณม าใช้จะเป็นดังนี้
2.1 เปน็ ปัญหาท มี่ คี วามซ ับซ้อนในก ารวิเคราะห์สูงเพราะมีตัวแปรเกีย่ วข้องม าก
2.2 เป็นป ญั หาทตี่ อ้ งการประสทิ ธภิ าพในเชงิ เศรษฐศาสตร์ซ ึง่ ส ามารถวัดได้เป็นตัวเลข
2.3 เปน็ ปัญหาท ส่ี ามารถใช้ต วั แ บบทางคณติ ศาสตรใ์ นก ารวเิ คราะหแ์ ละตัดสนิ ใจได้
2.4 เป็นป ัญหาซ ึง่ สามารถใช้ประโยชน์จากคอมพวิ เตอรใ์นการว เิ คราะห์และต ดั สินใจได้
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช