Page 38 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 38
2-36 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
นักท ฤษฎยี ุคคลาสส กิ นั้นเห็นว ่าค วรท ีจ่ ะเน้นส ร้างโครงสร้างข องอ งค์การใหด้ กี ่อนแ ละก ารร ่วมม ือในส ่วนข อง
พนักงานจ ะต ามมาเอง
แต่นักทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์เห็นว่าควรจะเน้นการจูงใจพนักงานก่อน แล้วค่อยกำหนดโครงสร้าง
องค์การที่เหมาะสมจึงจะสามารถจูงใจให้คนทำงานดีขึ้นและมีขวัญกำลังใจเพิ่มขึ้น ซึ่งผลงานของนักทฤษฎีตาม
แนวคิดเชิงพ ฤติกรรมศาสตร์นี้ม ีปรากฏเป็นจ ำนวนม าก เช่น ทฤษฎีล ำดับข ั้นค วามต้องการข องมาสโลว์ (Maslow’s
Hierachy of Needs) ทฤษฎี 2 ปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์ก (Herzberg’s Two Factors Theory) ทฤษฎีเกี่ยวกับ
ภ าวะผ ู้นำของโรเบิร์ต แทนเนนบาม และวอร์เรน เอช ชมิดท์ (Robert Tannanbamm และ Warren H. Schmidt)
และทฤษฎีของนักทฤษฎีเชิงพฤติกรรมอีกหลายๆ ท่าน ซึ่งล้วนเป็นผลงานที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของคนใน
ด้านต่างๆ เพื่อที่จะนำมาใช้จูงใจมนุษย์ในคณะปฏิบัติงานทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีด้วยขอบเขตจำกัดของเนื้อหาจะขอนำ
กล่าวเพียงผ ลง านข องแ มกเกรเกอร์ (Douglas McGregor) และคริส อาร์กีร ิส (Chris Argyris) มาเสนอเป็นต ัวอย่าง
เท่านั้น สำหรับผ ลง านข องม าสโลว์แ ละเฮอ ร์ซเบอร์ก จ ะส ามารถอ ่านร ายล ะเอียดได้ในส ่วนท ี่ก ล่าวถ ึงเรื่องก ารจ ูงใจข อง
เอกสารการสอนชุดว ิชาน ี้
ผลง านของแมกเกรเกอร:์ ทฤษฎ ี X และ ทฤษฎี Y42
ผลงานของแมกเกรเกอร์ (1906–1964) เป็นตัวอย่างที่แสดงแนวคิดของนักทฤษฎีเชิงพฤติกรรมศาสตร์
ที่ดี โดยแมกเกรเกอร์เห็นว่า องค์การในสมัยคลาสสิกซึ่งเน้นการแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้านการรวม
อำนาจในการตัดสินใจ การติดต่อส ื่อสารจ ากเบื้องบนส ู่เบื้องล ่างและเน้นกฎระเบียบโดยเคร่งครัดน ั้นมิใช่เป็นผลเกิด
จากความจำเป็นทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่ค่อนข้างจะเป็นผลเกิดจากคติฐานพื้นฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของ
มนุษย์ซึ่งไม่ถูกต้องของนักทฤษฎีในแนวคลาสสิกด้วย แมกเกรเกอร์ให้ชื่อกำกับคติฐานของนักทฤษฎีคลาสสิกว่า
ทฤษฎี X โดยกลา่ ววา่ ม นษุ ยต์ ามค ตฐิ านข องท ฤษฎี X จะเป็นมนษุ ยท์ ี่เกียจคร้านไมช่ อบทำงาน ขาดความร ับผ ิดชอบ
ชอบที่จะให้ใช้วิธีการบังคับควบคุมและลงโทษ และจะจูงใจให้ทำงานได้ด้วยสิ่งจูงใจที่เป็นตัวเงินโดยส่วนตัวของ
แมกเกรเกอรน์ ัน้ ไมเ่ ห็นด ้วยก บั ก าร ม คี ตฐิ านเกีย่ วก บั ม นุษยว์ ่าเปน็ ค นป ระเภทท ฤษฎี X เขาเห็นว า่ อ งค์การในโครงสร้าง
ซึ่งอาศัยหลักการของแ นวค ลาสสิกไม่สามารถนำมาแก้ปัญหาให้ก ับอ งค์การที่กำลังเผชิญกับส ภาวะปัญหาท ี่เปลี่ยนไป
จากเดิมได้ จึงควรต้องมีการปรับหลักการใหม่ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้องเปลี่ยนคติฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของ
มนุษย์เป็นประเด็นสำคัญ ในเรื่องนี้แมกเกรเกอร์ได้เสนอคติฐานแนวใหม่ซึ่งได้ให้ชื่อกำกับว่าทฤษฎี Y ในคติฐาน
ของท ฤษฎี X ที่แ มกเกรเกอร์เสนอให้ใช้น ี้ มนุษย์จะถูกม องว่าเป็นค นด ี มีความร ับผิดชอบ รักที่จะทำงานแ ละถ ้าจัด
สภาวะแ วดล้อมข องง านได้เหมาะส มก ็จ ะส ามารถค วบคุมต นเองได้ จากค ติฐ านต ามท ฤษฎี Y นี้พ อจ ะก ล่าวได้ว ่าส ิ่งท ี่
จะนำมาใช้จูงใจมนุษย์ให้ทำงานได้ดีนั้นไม่ใช่ตัวเงินอย่างเดียวแต่ขึ้นอยู่กับความปรารถนาที่จะทำงานให้ได้ผลดีและ
การยอมรับของกลุ่มที่เป็นเพื่อนร ่วมงานด ้วย
ผลง านของอาร์กีรสิ 43
ผลงานของอาร์กีริส (1957) อาจารย์แห่งมหาวิทยาลัย Yale เป็นผลงานอีกชิ้นหนึ่งซึ่งไม่เห็นด้วยกับการ
จัดองค์การตามแนวคิดของนักทฤษฎีคลาสสิก อาร์กีริสได้สร้างทฤษฎีพัฒนาการด้านบุคลิกลักษณะของมนุษย์ขึ้น
โดยกล่าวว่า ขณะท ี่มนุษย์เติบโตจากเด็กจนเป็นผ ู้ใหญ่นั้นจะมีพัฒนาการด ังนี้
ลิขสิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช