Page 36 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 36

2-34 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

       กล่าว​ง่ายๆ ก็ค​ ือ อำนาจ​หน้าที่จ​ ะไ​ม่ข​ ึ้นอ​ ยู่ก​ ับ​ตำแหน่ง แต่จ​ ะข​ ึ้น​อยู่​กับก​ ารย​ อมรับ​ของ​ผู้รับค​ ำส​ ั่ง​ไป​ปฏิบัติ
       3. 	จะ​ต้องม​ ี​การ​ใช้​สิ่งจ​ ูงใจท​ ั้งท​ ี่​เป็น​ตัว​เงิน​และไ​ม่ใช่​ตัว​เงิน​ใน​การ​สร้าง​การย​ อมรับ​ให้​เกิดข​ ึ้น เพราะ​บุคคล​จะ​
สละ​สิ่ง​ซึ่งท​ ี่​ตน​ชอบพอ​และ​ปฏิบัติต​ าม​คำ​สั่งไ​ด้ก​ ็​ต่อเ​มื่อ​เห็น​ว่า​ผล​ได้​นั้น​มี​มากกว่าผ​ ล​เสีย
       สำหรับ​ใน​ส่วน​ที่​เกี่ยว​กับ​ปัญหา​ด้าน​โครงสร้าง​ของ​องค์การ บาร์​นาร์​ดก็​ได้​เน้น​ความ​สำคัญ​ของการ​ติดต่อ​
สื่อสารในอ​ งค์การ ว่าจ​ ะเ​ป็นต​ ัวเ​ชื่อมท​ ี่ส​ ำคัญร​ ะหว่างผ​ ู้ท​ ี่ม​ ีอ​ ำนาจห​ น้าที่ใ​นก​ ารต​ ัดสินใ​จ ซึ่งอ​ ยู่ใ​นต​ ำแหน่งต​ ่างๆ ภายใน​
โครงสรา้ งอ​ งคก์ าร นอกจาก​นยี​้ งั ไ​ดเ​้ นน้ บ​ ทบาทข​ องก​ ลุม่ อ​ รปู น​ ยั (informal group) ที​่จะม​ ส​ี ว่ นช​ ว่ ยใ​นก​ ารต​ ดิ ตอ่ ส​ ือ่ สาร​
ได้ด​ ้วย38

ผล​งาน​ของ​ไซ​มอน

       ไซ​มอน​นั้น​มี​ผล​งาน​เขียน​เป็น​ที่​รู้​จักกัน​ใน​หนังสือ​ชื่อ Administrative Behavior  ซึ่ง​ผล​งาน​เขียน​นี้​ได้​นำ​
เอา​ความ​คิด​เห็น​ของ​บาร์​นาร์ด​ใน​การ​มอง​องค์การ​ว่า​เป็น​โครงสร้าง​ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย​ผู้​ทำการ​ตัดสิน​ใจ​ใน​ระดับ​ต่างๆ
มาทบ​ ท​วน

       ใน​ส่วน​ที่​เกี่ยว​กับ​การ​สร้าง​การ​ยอมรับ​ใน​หมู่​พนักงาน​เพื่อ​ให้​เกิด​เป็น​ความ​ร่วม​มือ​นั้น ไซ​มอน​เห็น​ด้วย​กับ​
บาร์​นาร์ด​ว่า​เป็น​ปัญหา​ใหญ่​ของ​ผู้​บริหาร​ที่​จะ​ต้อง​แก้ ซึ่ง​ใน​เรื่อง​นี้​ไซ​มอน​ได้​ยก​เป็น​ประเด็น​เกี่ยว​กับ​การ​ตัดสิน​ใจ​ใน​
ระดับส​ ูงก​ ว่า จะไ​ม่มผี​ ลถ​ ึงพ​ นักงานท​ ีเ่​ป็นฝ​ ่ายป​ ฏิบัตเิ​ลย ถ้าห​ ากไ​ม่มกี​ าร​ ตดิ​ ต่อส​ ื่อสารล​ งม​ าข​ ้างล​ ่าง และไ​ดเ้​สนอว​ ่าการ​
ที่จ​ ะ​ทำให้ก​ าร​ตัดสิน​ใจ​ของผ​ ู้บ​ ริหาร​เป็น​ที่​ยอมรับ​ของ​พนักงาน​และพ​ นักงาน​ให้​ความร​ ่วม​มือ​นั้น อาจ​ทำได้ 2 วิธี คือ

       1. 	การ​ใช้​อำนาจ​หน้าที่​กับ​พนักงาน (impose authority)39 การ​ใช้​อำนาจ​หน้าที่​ของ​ฝาย​บริหาร​นี้​เป็นการ​ใช้​
อำนาจ​หน้าที่​ใน​ตำแหน่ง​ทำการ​ตัดสิน​ใจ​และ​ให้​พนักงาน​รับ​ไป​ปฏิบัติ ดัง​นั้น​จึง​ต้อง​มี​การ​ใช้​สิ่ง​จูงใจ​ด้าน​อื่นๆ เช่น
เกียรติยศ เงิน​เดือน ฐานะ โอกาส​ใน​การ​เลื่อน​ขั้น ฯลฯ หรือ​ใช้​มาตรการ​ใน​ทาง​ลบ เช่น การ​ลงโทษ​ให้​ไป​ปฏิบัติ​งาน​
อื่นท​ ี่ด​ ้อย​กว่า เป็นต้น

       2. 	การใ​ชว​้ ธิ ก​ี ารค​ วบคมุ ต​ นเองข​ องพ​ นกั งาน (self-control)40  โดยอ​ งคก์ ารจ​ ะต​ อ้ งท​ ำใหพ​้ นกั งานเ​กดิ ม​ ท​ี ศั นคต​ิ
ความ​ประพฤติ และ​จิตใจ ใน​ลักษณะ​ซึ่ง​จะ​ช่วย​ให้​เขา​สามารถ​ตัดสิน​ใจ​อัน​เป็น​ประโยชน์​ต่อ​องค์การ ซึ่ง​องค์การ​อาจ​
ทำได้โ​ดยการ​ปลูก​ฝัง​ความร​ ู้สึก​ที่​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​องค์การ และ​การ​ฝึก​อบรม​เพื่อ​ให้​พนักงาน​ที่​จะ​ทำการ​ตัดสิน​ใจ​ได้​
ด้วยต​ ัวเ​อง

       สำหรับ​ใน​ส่วน​ที่เ​กี่ยว​กับ​โครงสร้าง​ของ​องค์การ​นั้น ไซ​มอน​ได้​มอง​องค์การ​ว่า​เป็น​โครง​ข่าย​ของ​การ​ตัดสิน​ใจ​
ใน​ระดับ​ต่างๆ และ​เป็น​ผู้​เสนอ​ให้​มี​การ​แยก​การ​ตัดสิน​ใจ​ที่​เป็น​กิจวัตร​หรือ​เป็น​ประจำ​จาก​การ​ตัดสิน​ใจ​ที่​ต้อง​อาศัย​
ความค​ ิดส​ ร้างสรรค์ และเ​สนอเ​ป็นข​ ้อส​ รุปห​ รือแ​ นวทางว​ ่าโ​ครงสร้างอ​ งค์การป​ ระเภทใ​ดจ​ ะใ​ช้ไดด้​ ีท​ ี่สุดก​ ับก​ ารต​ ัดสินใ​จ​
ประเภทใ​ด นอกจาก​นี้ไ​ซม​ อน​ยังเ​ป็น​คน​แรก​ที่เ​สนอ​ให้ม​ ี​การกร​ ะ​จาย​ อำ​นาจ​ การ​ตัดสิน​ใจ​แก่​บุคคล​ที่​อยู่​ในร​ ะดับ​ต่างๆ
ด้วย เพราะ​เขา​เห็น​ว่า​มนุษย์​ไม่ใช่​มนุษย์​เศรษฐศาสตร์​ซึ่ง​อาศัย​หลัก​ความ​สม​เหตุ​สม​ผล​มา​ใช้​ใน​การ​ตัดสิน​ใจ​เสมอ
แต่​มนุษย์​เป็น​มนุษย์​บริหาร (administrative man)   ซึ่ง​มี​ความ​รอบรู้​อย่าง​จำกัด​ใน​สภาวะ​แวดล้อม​และ​ทาง​เลือก​
ต่างๆ ดังน​ ั้น จึงจ​ ะไ​ม่พ​ ยายามแ​ สวงหาห​ นทางท​ ี่จ​ ะใ​ห้ผ​ ลต​ อบแทนส​ ูงสุดเ​ช่นเ​ดียวก​ ับม​ นุษย์ต​ ามค​ ติฐ​ านข​ องน​ ักท​ ฤษฎ​ี
คลาสส​ ิก แต่​มนุษย์​ตาม​คติ​ฐาน​ของ​ไซ​มอน​จะ​เลือก​เอา​ทาง​เลือก​ซึ่ง​ถูกใจ​และ​เป็น​ที่​พอใจ​ของ​ตน41 ด้วย​เหตุ​เกี่ยว​กับ​
ข้อ​จำกัดข​ องม​ นุษย์​ตาม​ความ​คิด​ของ​ไซม​ อน​นี้ จึงค​ วร​จะ​ต้องม​ ี​การกร​ ะ​จาย​ อำ​นาจ​ใน​การต​ ัดสิน​ใจล​ ง​ไป

  กจิ กรรม 2.2.3
         1. 	จง​เปรยี บเ​ทียบค​ ต​ิฐาน​เก่ียวก​ บั ม​ นษุ ย​ข์ องเ​ทยเ​์ ลอ​ร์ มา​โย และไ​ซม​ อน ว่าแ​ ตก​ต่าง​กัน​อย่างไร
         2. 	ใน​การ​แกป้​ ัญหาค​ วามข​ ัดแ​ ยง้ ข​ องฝ​ ่าย​บริหาร​นัน้ โฟลเลต็ ​เสนอแ​ นวทาง​แก้​อย่างไร

                             ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41