Page 267 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 267
การต ิดตามภาวะโภชนาการ 15-33
3) การตรวจท างหอ้ งป ฏบิ ัติก าร เช่น ระดับน้ำตาล complete blood count หน้าที่ไต ระดับไขมันในเลือด
แร่ธาตุ โซเดียม โพแทสเซียม คลอไรด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ในเลือด ขณะอยู่ในโรงพยาบาล มีความเกี่ยวข้องกับ
โภชนบ ำบัด โภชนบริการ
4) การต รวจอ น่ื ๆ เช่น เอกซเรยค์ อมพิวเตอร์ การต รวจด ้วยค ลื่นแม่เหล็ก ใชเ้ป็นต ัวช ีว้ ัดต ิดตามผ ลก ารร ักษา
ทั้งสิ้น
2. โรคเร้อื รัง
ตวั ช วี้ ัดโรคเรื้อรัง การติดตามโรคเรื้อรัง อาศัยรูปแบบ chronic care model ดังนี้
2.1 ผบู้ รหิ ารส ถานพ ยาบาลห รอื อ งคก์ รม แี ผนง านช ดั เจน ตั้งเป้าห มายก ารด ูแลร ักษาโดยเล็งเห็นค วามส ำคัญ
ที่ผ ู้ป่วย หรือผ ู้มารับบ ริการ
การตั้งจุดมุ่งหมาย เช่น โรคเฉียบพลันต้องหาย ไม่มีโรคแทรกซ้อน ในระยะเวลาเหมาะสม โรคเรื้อรัง
ไม่ห ายขาด ต้องต ั้งเป้าหมายให้ผ ู้ป ่วยปลอดภาวะแทรกซ้อนของแต่ละโรค ตัวอย่างเห็นได้จากโรคเบาห วานแ ละภาวะ
ความด ันโลหิตสูง
ผู้ป่วยมีความรู้ในก ารดูแลต นเอง จากการให้ค ำปรึกษาข องทีมผู้ดูแล
ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดี สุขภาพกาย ใจ อารมณ์ สังคม จิตวิญญาณเข้มแข็ง สู้ทนต่อความลำบากในการมี
โรคได้
ในระดับประเทศ ผู้บริหารหมายถึงผู้รับผิดชอบระบบสาธารณสุขต้องตั้งเป้าหมาย และระบุตัวชี้วัดที่ต้อง
ติดตาม
ตัวอย่างเช่น ต้องการให้โรคแ ทรกซ้อนท างตา ไต หัวใจ สมอง และเท้า ลดลงร ้อยล ะเท่าใด ในแ ต่ละป ี เพื่อให้
ผู้รับบริการสถานพยาบาล รับนโยบายไปส ู่ก ารป ฏิบัติ
2.2 ชุมชนมีส่วนร่วม ร่วมค ิด ร่วมป ฏิบัติ ร่วมพัฒนา ส่งเสริมก ำลังค น งบป ระมาณ สถานท ี่ และช ่วยจ ัด
ระบบงานเชื่อมโยงเครือข ่ายการส่งต ่อไปยังส ถานพ ยาบาลท ี่มีค วามสามารถส ูงกว่า และรับก ลับมาด ูแลต่อเนื่อง
2.3 ผู้ป่วยได้รับการสนับสนุนให้รู้จักวิธีดูแลตนเอง (self management support) แนะนำว่าผู้ป่วยมีหน้าท ี่
รักษาส ุขภาพต ้องม ีค วามร ู้ในก ารใช้อุปกรณ์ต ิดตาม เช่น วัดความดันโลหิต เจาะเลือดปลายนิ้วห าร ะดับน้ำตาล
2.4 ทีมง านมีการอ อกแบบระบบการด แู ลทีด่ ี ต้องติดตามต ัวช ี้วัดอ ะไรบ ้างในรอบป ี รอบไตรมาส รายเดือน
สื่อสารระบบบ ริการให้ผู้ป ่วยท ราบ เพื่อให้เกิดค วามร่วมม ือซึ่งกันแ ละกัน
2.5 ทีมงานมีข้อมูลท่ีทันสมัย ในด้านองค์ความรู้และเป็นข้อมูลที่ทดลองแล้วว่าปฏิบัติแล้วได้ผลดี ถ้าไม่
ปฏิบัติจ ะเกิดภาวะแทรกซ้อน
2.6 ทีมงานมีระบบเก็บข้อมูล การลงทะเบียนผู้ป่วยบันทึกการมีโรคแทรกซ้อน แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์
เพื่อการปรับปรุงอ ย่างต ่อเนื่อง
ปจั จบุ นั ไดเ้ กดิ ค วามร ว่ มม อื ในร ะดบั ป ระเทศ ใหม้ ตี วั ช วี้ ดั ป ระจำโรค เบาห วาน ความด นั โลหติ ส งู โรคห ลอดเลอื ด
ในสมองเฉียบพลัน เรียกโครงการ Toward Clinical Excellence Network (TCEN) สนับสนุนในระยะแรก
โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
นำสงส ู่การป ฏิบัติในโรงพ ยาบาลนำร่อง 6 แห่ง ตั้งแต่ พ.ศ. 2549
TCEN ได้กำหนดตัวชี้วัดเฉพาะโรค ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการดูแลผู้ป่วยแต่ละกลุ่ม มีความ
มุ่งห มายใหล้ ดภ าวะแ ทรกซ้อน ข้อมูลว ิชาการไดม้ าจ ากส มาคมว ิชาชีพทางด ้านโรคเบาห วาน โรคความด ันโลหิตส ูง และ
โรคห ลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลัน สมาคมวิชาชีพในประเทศไทยนำม าป รับใช้กับผ ู้ป่วยข องประเทศไทย (ดูรายการ
ตัวชี้ว ัด ในต ารางที่ 15.3.2.1 , 15.3.2.2)
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช