Page 266 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 266
15-32 อาหารแ ละโภชนบ ำบัด
เร่ืองท ี่ 15.3.2
การป ระเมนิ ต วั ชีว้ ัดร ายโรค
โดยท ั่วไป โรคท ี่พ บแ บ่งเป็นตามร ะยะเวลาข องการรักษาเป็น 2 ชนิด ได้แก่ โรคเฉียบพลันและโรคเรื้อรัง
1. โรคเฉียบพลัน
โรคเฉียบพลัน หมายถ ึง โรคท ีม่ อี าการป ุบปับ เมื่อม ปี ัจจัยท ีท่ ำใหเ้กิดโรค จะแ สดงอ าการ หากว ินิจฉัยถ ูกต ้อง
ได้ร ับการรักษาแล้ว อาการจะทุเลา หรือห ายขาด ยกเว้นจ ะมีปัจจัยท ี่ท ำให้เกิดโรคอีกได้
ตัวอย่างเช่น ไข้ห วัด อาจเป็นได้ตามฤดูกาล รักษาแล้วหาย ตัวช ี้วัดท ี่บอกว ่าหายขาด คือ อาการหมดไป ไม่มี
ไข้ไม่ป วดต ามตัว รับป ระทานอ าหารได้ เมื่อถ ึงเวลาที่มีก ารระบาดของหวัด จะม ีอ าการหวัดในรอบใหม่ โภชนบำบัดม ี
ส่วนช่วยในร ะยะท ี่ร ับป ระทานอาหารไม่ได้ และในระยะฟ ื้นฟูสุขภาพ
การอักเสบต่างๆ การเกิดอาหารเป็นพิษ เกิดอย่างรวดเร็ว เมื่อรักษาแล้ว จะไม่มีอาการท้องเดินอีก แต่
ต้องป้องกันมิให้เป็นซ้ำ โภชนบำบัดมีหน้าที่ให้อาหารที่เหมาะสมในช่วงที่ยังมีลำไส้อักเสบ และฟื้นฟูหลังอาการ
เฉียบพลัน
การมีโรคที่ต้องผ ่าตัด เช่น ไส้ติ่งอ ักเสบ ต้องรับก ารผ ่าตัด หลังผ ่าตัดมีการเริ่มอาหาร ตั้งแต่อ าหารเหลวใส
อาหารเหลวข้น อาหารอ ่อน จนถึงอาหารธ รรมดา นักกำหนดอ าหารต้องมีส่วนให้บริการในระยะหลังผ่าตัด และการ
เตร ีย มตัวเมื่อไปอยู่ท ี่บ้าน
การผ ่าตัดบ างช นิด เมื่อผ ูป้ ่วยฟ ื้นจ ากก ารใหย้ าสลบ และร ู้สึกต ัวดไีม่มอี าก ารค ล ื่อน ไส้ อาเจียน แพทยอ์ นุญาต
ให้ร ับประทานอาหารได้
การผ่าตัดผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวานต้องผ่าตัดเปลี่ยนหลอดเลือดหัวใจ จะต้องมีการดูแลเป็นทีม
ที่เรียกว ่า สหส าขาวิชาชีพในโรงพยาบาล มีก ารประชุมปรึกษาว่าในร ะยะใดงดอ าหาร ระยะใดให้อาหาร หลังผ ่าตัดให้
อาหารจำกัดน้ำตาล ลดโซเดียม ลดไขมัน เมื่อถึงเวลาก ลับบ้าน นักกำหนดอาหารจ ะซักซ้อมความเข้าใจ ให้ผู้ป ่วยและ
ญาติส ามารถนำไปปฏิบัติได้ต ่อเนื่องท ี่บ้าน ใช้แบบแผนการรักษาท ี่เรียกว ่า Care map
ผู้ป่วยท ี่ผ่าตัดต ่อกระเพาะ ลำไส้ ผู้ป ่วยมะเร็งอยู่ในสภาพขาดอ าหาร หลังก ารผ ่าตัด อาจม ีความจำเป็นต ้อง
ให้อาหารทางส ายท ี่ต่อไปยังหลอดเลือด เพื่อฟ ื้นฟูร่างกายให้แข็งแ รงโดยเร็ว
ผู้ป่วยที่มีอัมพฤกษ์ อัมพาต กลืนลำบาก อาจต้องอาหารทางสายยาง นักกำหนดอาหารจะคำนวณปริมาณ
อาหารและปรุงอ าหารทางส ายยาง ซึ่งจ ะอยู่ในความด ูแลของแ พทย์ผู้รักษาด ้วย
ตวั ช้ีวดั สำหรบั โรคเฉยี บพลัน จึงม ี ดังนี้
1) ระยะเวลาท่ีอยู่ในโรงพยาบาล หรือเจ็บป่วยที่บ้านทำงานไม่ได้ เรียก length of stay (LOS) ถ้า LOS
เป็นไปต ามแผนการที่ร ักษาห รือ care map แสดงว่า ได้ผลด ีถึงแม้ว่าอาหารจ ะไม่ใช่ปัจจัยเดียวท ี่จะล ดห รือเพิ่ม LOS
แต่การทำงานเป็นท ีม ต้องร ับผิดช อบร่วมกัน
2) การกล บั เขา้ โรงพ ยาบาลด ว้ ยอ าการเดิม เช่น ผู้ป่วยอ าหารเป็นพ ิษ กลับบ้านแ ล้ว มาเข้าโรงพ ยาบาลด ้วย
ท้องเดินอ ีก ถือว่าเป็นการด ูแลร ักษาท ี่ต ้องการก ารป รับปรุง เช่นเดียวกัน โภชนบ ำบัด มีส ่วนให้เกิดเหตุการณ์น ี้ได้ หาก
ให้ค วามร ู้ไม่ล ะเอียดพอ
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช