Page 115 - สังคมโลก
P. 115
สงครามกับการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก 7-9
ทหารของประเทศตา่ งๆ ตงั้ แตส่ มยั กรกี โบราณ โรมนั มาจนถงึ ยคุ กลางของยโุ รป มที งั้ รฐั ตา่ งๆ ของอติ าลี จกั รวรรดโิ รมนั
อันศักดิ์สิทธิ์ (ภายใต้อำ�นาจของจักรพรรดิเยอรมัน) จักรวรรดิฝรั่งเศส เป็นต้น มีการกล่าวถึงเหตุการณ์สงคราม
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในยุโรป วิเคราะห์วิจารณ์สถานการณ์การสู้รบ ยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีของฝ่ายต่างๆ ตลอดจนมีการ
เขียนแผนภูมิการจัดกำ�ลังกองทัพในสมรภูมิต่างๆ ด้วย หนังสือดังกล่าวแบ่งออกเป็น 7 เล่ม โดยเขียนเนื้อความ
ต่อเนื่องกัน ไม่มีชื่อเรื่องหนังสือแต่ละเล่ม
ตัวอย่างของเนื้อหาสาระในหนังสือเล่มที่ 2 มาเคียเวลลีได้แสดงความคิดเห็นว่า “พวกกรีกไม่ใช้อาวุธหนัก
ในการต้ังรับเหมือนพวกโรมัน แต่ในการบุกพวกกรีกจะใช้หอกยาวมากกว่าใช้ดาบสั้น โดยเฉพาะกองทหารฟาลังซ์
(Phalanx) ของมาเซโดเนยี หอกยาวน้ีเรียกว่า “ซารซิ า” (Sarissa) มีความยาวถงึ 10 ชว่ งแขน ซ่ึงพวกเขาสามารถเจาะ
แถวของขา้ ศกึ และรกั ษาแถวของทหารฟาลงั ซไ์ วไ้ ด้ มนี กั เขยี นคนอนื่ ๆ บอกวา่ พวกเขามโี ลด่ ว้ ย ขา้ พเจา้ ไมร่ วู้ า่ หอกยาว
และโลน่ จี้ ะใช้ดว้ ยกันไดห้ รอื เปลา่ ” 11 เป็นต้น
มาเคียเวลลีได้สร้างแนวคิดด้านยุทธศาสตร์การทหารมากมาย อาทิ ความเข้มแข็งของรัฐขึ้นอยู่กับกองทัพ
แห่งชาติที่แข็งแกร่งซึ่งประกอบด้วยทหารที่เกณฑ์มาจากราษฎร คนเหล่านี้จะมีความรักชาติ ผูกพันมาตุภูมิ พร้อมที่
จะพลีชีพเพื่อปกป้องอธิปไตย และสร้างความยิ่งใหญ่ให้แก่ประเทศชาติ ซึ่งผิดกับทหารรับจ้าง ไม่ว่าจะเป็นคนในชาติ
หรือชาวต่างชาติ ซึ่งทำ�หน้าที่ก็เพราะต้องการค่าจ้างเป็นสำ�คัญ หลักยุทธศาสตร์ที่ดีนั้น กองทัพควรจะสู้รบบนดินแดน
ของตนเอง เพราะความรูส้ กึ รกั หวงแหนและมุง่ ที่จะปกปอ้ งบา้ นเกิดเมืองนอนจะเป็นพลงั สำ�คญั ที่ทำ�ให้ได้รับชยั ชนะใน
สงคราม ผู้ปกครองที่รอบคอบจะไม่อาศัยความแตกแยกของศัตรูเป็นโอกาสเพื่อเข้าโจมตี เพราะจะเป็นการกระตุ้นให้
ศัตรูหันมารวมตัวกันยิ่งขึ้น ผู้ชนะสงครามไม่ควรทำ�ลายล้างศัตรูจนเกินความจำ�เป็น ยิ่งผู้พ่ายแพ้ถูกกดขี่เท่าใดก็ยิ่ง
จะก่อกบฏต่อต้านมากขึ้นเท่านั้น ฉะนั้นอย่าทำ�อะไรครึ่งๆ กลางๆ ถ้าไม่ปรานีปลดปล่อยศัตรูก็ต้องกำ�จัดให้สิ้นซาก
ไม่ใหก้ ลบั ฟืน้ ขึน้ มาเป็นภัยตอ่ ฝ่ายตนได้อกี นกั การทหารที่เกง่ จะต้องก�ำ หนดใหก้ องทหารของตนอยูใ่ นจุดยทุ ธศาสตร์
ที่ต้องต่อสู้ เพื่อไม่ให้เกิดความลังเลใจ และถ้าปล่อยให้ศัตรูมีทางเลือกว่าจะสู้หรือถอยได้ กำ�ลังทหารของฝ่ายเราก็
จะต้องอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของคนๆ เดียวอย่างเด็ดขาด หากมีการแบ่งสายบังคับบัญชาและปล่อยให้หมู่ผู้นำ�
ทหารสามารถแสดงความคิดเห็นในยุทธวิธีที่แตกต่างหลากหลายกันได้ก็อาจเกิดความหายนะขึ้น กลลวงเป็นยุทธวิธี
ที่ควรนำ�มาใช้และน่ายกย่องในการทำ�สงคราม หน่วยสืบราชการลับและสายลับก็มีความสำ�คัญยิ่ง ฝ่ายข่าวกรองต้อง
อย่าเชื่อถือข้อมูลของผู้ลี้ภัยสงครามของรัฐอื่นที่เข้ามาอยู่ในรัฐของตน เพราะคนพวกนี้คิดแต่จะเอาตัวรอดและคิดถึง
แต่ผลประโยชน์ของตนเองมากกว่าประเทศชาติ ไม่มีข้อมูลใดที่จะอำ�นวยผลประโยชน์แก่รัฐของเราเลย12
งานเขียนเกีย่ วกบั การทหารและสงครามของมาเคยี เวลลยี งั มอี ยู่อกี มากมาย อาทิหนงั สอื ชือ่ “ค�ำ บรรยายเรื่อง
การจัดตั้งกองทัพแห่งรัฐฟลอเรนซ์” (Discorso dell’ordinare lo stato di Firenze alle armi) และเมื่อมาเคียเวลลี
เดนิ ทางไปทำ�ภารกจิ ในจกั รวรรดฝิ รัง่ เศสและจกั รวรรดโิ รมนั อนั ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ (เยอรมน)ี กไ็ ดบ้ นั ทกึ เรือ่ งราวเกีย่ วกบั ความ
ยิง่ ใหญด่ า้ นการทหารและการทำ�สงครามของจักรวรรดิเหลา่ นีเ้ พือ่ กระตุน้ ใหผ้ ูป้ กครองรฐั ฟลอเรนซพ์ ฒั นากองทัพและ
ยุทธวิธีการทำ�สงครามเพื่อความมั่นคงเข้มแข็งของชาติ ผลงานด้านการทหารของมาเคียเวลลีดูเหมือนว่าจะประสบ
ความสำ�เร็จเสียยิ่งกว่าผลงานด้านการเมืองเสียอีก เพราะรัฐฟลอเรนซ์ได้พัฒนากองทัพและใช้ยุทธวิธีการทำ�สงคราม
ตามที่เขาได้เสนอไว้หลายประการ เช่น การจัดตั้งกองทหารราบและกองทหารม้าโดยการเกณฑ์ทหารจากพลเรือน
ชาวฟลอเรนซ์แทนการจ้างทหารรับจ้างที่มีมาแต่เดิม การสามารถเป็นผู้นำ�ทัพไปทำ�สงครามกับเมืองปิซาตามยุทธวิธ ี
11 Niccolñ Machiavelli, On the Art of War, (Secord Book), translated by Christopher Lynch, Chicago: University of
Chicago Press, 2003. http://www.constitution.org/mac/artofwar2.htm, (6/7/2553)
12 เอ็ม.เจ. ฮาร์มอน ความคิดทางการเมืองจากเปลโตถึงปัจจุบัน (พิมพ์ครั้งที่ 3) เสน่ห์ จามริก (แปล) กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2519 หน้า 195 และ 211
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช