Page 7 - การผลิตสัตว์
P. 7

การผลิตโคเนื้อและกระบือ 8-5

เรอ่ื ง​ท่ี 8.1.1
พนั ธุ​โ์ ค​เนอ้ื แ​ ละ​การค​ ดั เ​ลอื ก

1. 	พันธ์​ุโค​เนอื้

       โคเ​ป็นส​ ัตว์​กระเพาะ​รวม (เคี้ยว​เอื้อง) ซึ่ง​สามารถจ​ ำแนกไ​ด้​เป็น 2 ตระกูลค​ ือ “ตระกูลเ​อเชีย” หรือ​เรียกว​ ่า
โคเ​มืองร​ ้อน” (Bos indicus) และต​ ระกูล​ยุโรป หรือ​เรียก​ว่า “โค​เมือง​หนาว” (Bos taurus) ซึ่ง​ได้ก​ ล่าว​ถึง​ลักษณะ​
ทั่วไป​ของ​โค​ทั้ง​สอง​ตระกูล​แล้ว​ใน​หน่วย​ที่ 7 ตอน​ที่ 7.1 เรื่อง​พันธุ์ การ​คัด​เลือก​และ​การ​ประเมิน​รูป​ร่าง​ของ​โคนม
ในท​ ี่​นี้​จะ​กล่าว​ถึงพ​ ันธุ์โ​ค​เนื้อที่ส​ ำคัญ​ที่น​ ิยม​เลี้ยงใ​นป​ ระเทศไทย ดังต​ ่อไ​ป​นี้

       1.1 	โค​ตระกูลเ​อเชีย หรือ โคเ​มืองร​ ้อน พันธุ์​ที่​สำคัญ​ที่​นิยมเ​ลี้ยง​ใน​ประเทศไทย ​ได้แก่
            1.1.1 โค​พื้น​เมือง โค​พื้น​เมือง​ของ​ไทย​มี​ลักษณะรูป​ร่าง​กะทัดรัด ลำ​ตัว​เล็ก ขา​เรียว​เล็ก​ยาว เพศ​ผู้​มี​

ตะโ​หนก ซึ่งเ​ป็นก​ ้อนเ​นื้อ​อยู่​บริเวณต​ ้นคอ บ้าง​ครั้งเ​รียกว​ ่า “โหนก” หรือ “หนอก” ขนาด​เล็ก มี​เหนียง​คอ​เล็ก​น้อย
หู​เล็ก หนังใ​ต้ท​ ้อง​เรียบ มีส​ ีไ​ม่แ​ น่นอน คือ ขาว​นวล น้ำตาล​อ่อน น้ำตาลเ​ข้ม เหลือง​อ่อน ดำ และ​มีส​ ี​ประห​ รือ​จุด​ด่าง​
กระจาย​ตามล​ ำ​ตัว เพศผ​ ู้ห​ นัก​ประมาณ 300-350 กิโลกรัม เพศเ​มีย​หนัก 200-250 กิโลกรัม

                1) 	ขอ้ ดีข​ องโ​คพ​ นื้ เ​มอื ง คือ ให้​เนื้อที่ม​ ี​เส้นใย​ละเอียด มีไ​ขม​ ัน​แทรกใ​นเ​นื้อน​ ้อย และเ​นื่องจากไ​ด​้
ผ่านก​ ารค​ ัดเ​ลือกแ​ บบธ​ รรมชาตใิ​นก​ ารเ​ลีย้ งแ​ บบไ​ลต​่ อ้ นโ​ดยเ​กษตรกรม​ าเ​ป็นร​ ะยะเ​วลาน​ าน ทำใหส​้ ามารถป​ รับต​ วั ใ​หเ​้ ขา้ ​
กับ​การ​เลี้ยง​โดย​ใช้​ทรัพยากร​ที่​มี​อยู่​อย่าง​จำกัด​ใน​พื้นที่​ได้​เป็น​อย่าง​ดี เลี้ยง​ง่าย หากิน​เก่ง ทนทาน​ต่อ​โรค แมลง​และ​
สภาพ​อากาศ​ร้อน​ชื้น​ของ​ประเทศไทย ให้​ลูก​ดก โดย​ส่วน​ใหญ่​จะ​ให้​ลูก​ปี​ละ​ตัว ตลอด​จน​สามารถ​ใช้​แรงงาน​งาน​ได้​ดี

                2) 	ข้อ​ด้อย​ของ​โค​พื้น​เมือง คือ​  เป็น​โค​ขนาด​เล็ก เพราะ​ถูก​คัด​เลือก​มา​ใน​สภาพ​การ​เลี้ยง​แบบ​
ไล่​ต้อนแ​ ละม​ ีอ​ าหารจ​ ำกัด ไม่เ​หมาะ​ที่จ​ ะ​นำ​มาเ​ลี้ยงข​ ุนเ​พื่อก​ าร​ค้า เพราะม​ ี​ขนาด​เล็กแ​ ละเ​นื้อ​มี​ไข​มันแ​ ทรก​น้อย​ไม่เ​ป็น​
ที่ต​ ้องการ​ของต​ ลาด​โค​ขุน​หรือต​ ลาด​เนื้อค​ ุณภาพส​ ูง​ที่​ต้องการ​ไข​มัน​แทรกใ​น​เนื้อ​สูง

                อย่างไร​ก็ตาม​โค​พื้น​เมือง​ส่วน​ใหญ่​นิยม​นำ​มา​ปรับปรุง​พันธุ์​โดย​นำ​แม่​โค​พื้น​เมือง​ผสม​พันธุ์​กับ​
พ่อ​พันธุ์​หรือ​ผสมเทียม​กับ​พันธุ์​ที่​มี​โครง​ร่าง​ใหญ่​ที่​ให้​เนื้อ​มาก เช่น พันธุ์​บรา​ห์​มัน แต่​ควร​ระวัง​ไม่​ใช้​พ่อ​พันธุ์​ที่​มี​
ขนาด​ใหญ่เ​กินไ​ปห​ รือพ​ ่อพ​ ันธุ์ท​ ี่ใ​ห้​ลูกแ​ รกเ​กิด​มีข​ นาด​ตัวใ​หญ่​เกิน​ไป​เพราะอาจทำให้​คลอด​ยากไ​ด้

ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12