Page 8 - การผลิตสัตว์
P. 8

8-6 การผลิตสัตว์

                                      ภาพท​ ี่ 8.1 โคพ​ นั ธพ​์ุ ้ืน​เมือง

ท่ีมา: กลุ่ม​วิจัย​และพ​ ัฒนาโ​คเ​นื้อ กองบ​ ำรุง​พันธุ์ส​ ัตว์ กรมป​ ศุสัตว์ (2553)

            1.1.2 โค​พันธ์ุ​บรา​ห์​มัน   คำ​ว่า “บรา​ห์​มัน” มา​จาก​คำ​ว่า “Brahmini” ซึ่ง​เป็น​ประเพณี​ทาง​ศาสนา​
พราหมณท​์ มี​่ พ​ี อ่ โ​คศ​ กั ดิส์ ทิ ธทิ​์ ชี​่ ือ่ พ​ ราหม​ ณี โคพ​ นั ธบุ​์ ราห​ ม​์ นั ม​ ถ​ี ิน่ ก​ ำเนดิ ด​ ัง้ เดมิ ใ​นป​ ระเทศอ​ นิ เดยี แตไ​่ ดร​้ บั ก​ ารป​ รบั ปรงุ ​
พันธุ์​และ​คัด​เลือก​พันธุ์​ใน​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา จึง​มีชื่อ​เรียก​ว่า “พันธุ์​อเมริกัน​บรา​ห์​มัน” (American Brahman)
โคส​ ายพ​ ันธุ์อ​ เมริกันบ​ ราห​ ์ม​ ันท​ ี่เ​ลี้ยงใ​นป​ ระเทศไทยส​ ่วนใ​หญ่น​ ำเ​ข้าม​ าจ​ ากป​ ระเทศส​ หรัฐอเมริกาแ​ ละอ​ อสเตรเลีย แล้ว​
นำ​มา​คัดเ​ลือก​ปรับปรุงพ​ ันธุ์ จัดเ​ป็นโ​ค​ขนาดก​ ลาง ลักษณะโ​ดยท​ ั่วไป​ลำต​ ัว​มีส​ ีห​ลาก​หลาย​ตั้งแต่ สีข​ าว เทาอ​ ่อน สีล​ าย​
และ​จนถึง​เกือบ​ดำ จมูก กีบ​และ​พู่​หาง​มี​สี​ดำ บาง​ตัว​อาจ​มี​สี​แดง จึง​เรียก​ว่า “บรา​ห์​มัน​แดง” แต่​ที่​พบ​มาก​ที่สุด คือ
สีข​ าว​และ​สีเ​ทา ลักษณะ​ของโ​คบ​ รา​ห์​มัน เป็น​โคท​ ี่​มีเ​ขา​ขึ้น​ชัน​และ​งุ้ม ตะโ​หนก​ใหญ่​และ​หย่อน หู​ยาวช​ ี้ล​ ง​ข้าง​ล่างจนถึง​
ริม​ผี​ปาก มี​หนัง​หลวม เหนียง​ใต้​คาง​จะ​ใหญ่ ผิวหนัง​ใต้​ท้อง​หย่อน พู่​หาง​สี​ดำ ส่วน​ขา​นั้น​ค่อน​ข้าง​ยาว และ​จะ​มี​
กล้าม​เนื้อ​ตรง​ขา​หลัง​มาก โคน​ขา​ใหญ่ ลำ​ตัว​ยาว​ได้​สัดส่วน ส่วน​อก​กว้าง​ลึก หลัง​ค่อน​ข้าง​ตรง เพศ​ผู้​มี​น้ำ​หนัก​ตัว​
ประมาณ 800-900 กิโลกรัม ส่วน​เพศ​เมีย​จะ​มี​น้ำ​หนัก​มาตรฐาน 500-700 กิโลกรัม โดย​แม่​โค​จะ​ให้​ลูกที่มีน้ำ​หนัก​
แรกเ​กิดป​ ระมาณ 30-32 กิโลกรัม และ​น้ำ​หนัก​ลูก​เมื่อ​หย่านมป​ ระมาณ 220-230 กิโลกรัม

                 1) 	ข้อดี​ของ​โคพ​ ันธบ์​ุ รา​ห​ม์ ัน คือ เป็นโ​ค​ที่เ​ลี้ยงง​ ่าย เลี้ยงล​ ูก​เก่ง ให้​น้ำนมพ​ อ​สมควร ทนทานต​ ่อ​
สภาพอ​ ากาศร​ ้อนไ​ด้ด​ ี ทนต​ ่อโ​รคแ​ ละแ​ มลงไ​ด้ด​ ีเ​ช่นเ​ดียวก​ ับโ​คต​ ระกูลเ​มืองร​ ้อนท​ ั่วไป แต่ไ​ม่ท​ นต​ ่อส​ ภาพอ​ ากาศห​ นาว​
เย็น ลักษณะพ​ ิเศษข​ องก​ ล้ามเ​นื้อโ​คพ​ ันธุบ์​ ราห​ ม์​ ันส​ ามารถข​ ยับต​ ัวไ​ดเ้​พื่อไ​ลแ่​ มลง และผ​ ิวหนังบ​ ริเวณค​ อม​ กี​ ารข​ ับส​ ารส​ ​ี
เหลืองอ​ อก​มา​ซึ่งม​ ี​กลิ่นท​ ี่ส​ ามารถไ​ล่แ​ มลง​ได้ต​ าม​ธรรมชาติ นิยม​เลี้ยงเ​พื่อ​ผลิต​เป็นโ​ค​เนื้อ​และเ​ลี้ยง​ไว้​เพื่อ​ใช้​แรงงาน

                 2) 	ข้อ​ด้อย​ของ​โค​พันธ์ุ​บรา​ห์​มัน เมื่อ​เปรียบ​เทียบ​กับ​โค​พื้น​เมือง​ของ​ประเทศไทย​แล้ว​พบ​ว่า​มี​
อัตรา​การ​ผสม​ติดค​ ่อน​ข้าง​ต่ำ​กว่า ให้ล​ ูกต​ ัวแ​ รก​ช้าก​ ว่า และ​มัก​เลือก​กินเ​ ฉพาะ​อาหารที่​มีค​ ุณภาพ​ดีส​ ำหรับก​ รณี​ที่เ​ลี้ยง​
ปล่อยใ​นแ​ ปลงห​ ญ้า นอกจาก​นี้​หากเ​ปรียบเ​ทียบ​กับ​โคต​ ระกูล​เมืองห​ นาว​แล้วพ​ บว​ ่า มี​การเ​จริญเ​ติบโตค​ ่อน​ข้าง​ช้า​กว่า
เปอร์เซ็นต์ข​ อง​ซากต​ ่ำก​ ว่า มี​ความ​สมบูรณ์พ​ ันธุ์​ค่อน​ข้างต​ ่ำ​กว่า โดยเ​พศเ​มียผ​ สมพ​ ันธุ์ไ​ด้​เมื่อม​ ีอายุ​ราว 1 ปี 8 เดือน​
ถึง 2 ปี ซึ่ง​ค่อนข​ ้างช​ ้าก​ ว่าโ​คเ​นื้อพ​ ันธุ์เ​มืองห​ นาว แม่​พันธุ์​นั้น​สามารถใ​ห้ล​ ูกไ​ด้​จนถึง​อายุ 15 ปี

                             ลขิ สิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13