Page 9 - การผลิตสัตว์
P. 9

การผลิตโคเนื้อและกระบือ 8-7
                 อย่างไรก​ ็ตามโ​คพ​ ันธุ์บ​ ราห​ ์ม​ ันส​ ่วนใ​หญ่น​ ิยมน​ ำม​ าใ​ช้โ​ คเ​ป็นพ​ ื้นฐ​ านใ​นก​ ารป​ รับปรุงพ​ ันธุ์ สำหรับ​
ผลิต​เป็น​โค​เนื้อ​และ​โคนม โดย​ใช้​เป็น​สาย​แม่​พันธุ์​พื้น​ฐาน​ใน​การ​สร้าง​สาย​พันธุ์​โค​พันธุ์​ใหม่ ​โดย​เฉพาะ​กับ​โค​พันธุ์​
เนื้อ​สาย​เลือด​ยุโรป​เพื่อ​นำ​ลูก​ไป​เลี้ยง​ผลิต​เป็น​โค​ขุน​ต่อ​ไป ประเทศไทย​มี​การนำ​เข้า​โค​บรา​ห์​มัน​มา​เลี้ยง​ปรับปรุง​
พันธุ์​เป็น​เวลา​นาน ซึ่ง​จัด​ได้​ว่า​เป็น​โค​พันธุ์​หลัก​พันธุ์​หนึ่ง​ที่​ใช้​ใน​การ​ผสม​พันธุ์​เพื่อ​ยก​ระดับ​สาย​เลือด​ของ​โค​พันธุ์​
พื้น​เมืองข​ อง​ประเทศไทย

                                      ภาพ​ท่ี 8.2 โคพ​ ันธ​บุ์ รา​หม์​ นั
            1.1.3 โค​พันธุ​์ฮินดู​บราซลิ เป็น​โคท​ ี่​มี​ถิ่นก​ ำเนิดจ​ าก​ประเทศ​อินเดีย แต่​ได้​รับ​การพ​ ัฒนา​ขึ้น​ใน​ประเทศ​
บราซิล จึงม​ ีชื่อว​ ่า “ฮินดูบ​ ราซิล” คำ​ว่า “ฮินดู” หรือ “อิน​ดู” แปลว​ ่า “อินเดีย” และ “บราซิล” เป็นป​ ระเทศท​ ี่​นำ​เข้า​
และ​พัฒนา​และ​ปรับปรุง​พันธุ์ โค​พันธุ์​นี้​ลักษณะ​ลำ​ตัว​มี​สี​ตั้งแต่​สี​ขาว​จนถึง​สี​เทา​เกือบ​ดำ สี​แดง แดง​เรื่อๆ หรือ​แดง
จ​ ุดข​ าว หน้าผ​ ากโ​หนกก​ ว้างค​ ่อนข​ ้างย​ าว หูม​ ีข​ นาดก​ ว้างป​ านก​ ลางแ​ ละห​ ้อยย​ าวม​ าก ปลายใ​บห​ ูม​ ักจ​ ะบ​ ิด เขาแ​ ข็งแ​ รงม​ ัก​
จะเ​อนไ​ปด​ ้านห​ ลัง ตะโ​หนกม​ ีข​ นาดใ​หญ่ ผิวหนังแ​ ละเ​หนียงห​ ย่อนย​ านม​ าก กระบ​ านต​ ้องใ​หญ่ หน้าผาก​ กว​ ้างโ​หนกน​ ูน
พ่อ​พันธุ์จ​ ะม​ ี​รูป​ร่างไ​ด้​สัดส่วน​สวยงาม หัว​ยาว หน้า​ผากน​ ูน​เล็ก​น้อย ปลายจ​ มูกอ​ ูม หาง​ตา​แหลมเ​ฉียงข​ ึ้นเ​ล็กน​ ้อย ม​ี
ขาใ​หญ่ท​ ี่ม​ ั่นคงแ​ ละแ​ ข็งแ​ รง หูม​ ีข​ นาดใ​หญ่ก​ ว้างแ​ ละห​ ้อยย​ าว หยักท​ ั้งด​ ้านใ​นแ​ ละด​ ้านน​ อก และห​ ูม​ ้วนข​ อบ ส่วนป​ ลาย​
หู​จะห​ ยัก​บิด​เกลียวไ​ป​สู่ป​ ลาย​จมูก จึงน​ ิยมเ​รียกอีก​ชื่อ​หนึ่ง​ว่า “วัว​หู​ยาว” ซึ่งเ​ป็น​ลักษณะ​พิเศษอ​ ีกอ​ ย่างของโคพันธุ์นี้
เป็นโ​ค​ที่​มีข​ นาดใ​หญ่แ​ ละค​ ่อนข​ ้าง​สูง เพศผ​ ู้โ​ตเ​ต็ม​ที่​หนัก​ประมาณ 900-1,200 กิโลกรัม เพศ​เมีย 600-700 กิโลกรัม

                 1) 	ขอ้ ดข​ี องโ​คพ​ นั ธฮ​ุ์ นิ ดบ​ู ราซลิ คอื เปน็ โ​คท​ นทานต​ อ่ โ​รค แมลง และส​ ามารถป​ รบั ต​ วั เ​ขา้ ก​ บั ส​ ภาพ​
อากาศ​ร้อน​ชื่น​ของป​ ระเทศไทย​ได้ด​ ี​เช่น​เดียวก​ ับโ​คต​ ระกูลเ​มือง​ร้อน​ทั่วไป

                 2) 	ข้อ​ด้อย​ของ​โค​พันธุ์​ฮินดู​บราซิล ไม่​เหมาะ​ที่​จะ​เลี้ยง​เป็น​โค​เนื้อ​เชิง​ธุรกิจ​หรือ​โค​ขุน เนื่องจาก​
เป็นโ​ค​ขนาด​ใหญ่ สร้างก​ ล้าม​เนื้อช​ ้า แต่อ​ าจเ​ป็นเ​พราะ​กระแส​ความน​ ิยมโ​คท​ ี่ม​ ี​ลักษณะส​ วยงาม เช่น หูย​ าว หน้า​ผาก​
โหนก​กว้าง จึงท​ ำให้ใ​นบ​ างช​ ่วง​มีก​ าร​เลี้ยง​โค​พันธุ์​นี้​มาก นอกจาก​นี้​การ​เลี้ยง​ต้องเ​อาใจ​ใส่ด​ ูแล​อย่าง​ดี​ ไม่​เหมาะท​ ี่จ​ ะ​นำ​
ไปเ​ลี้ยงป​ ล่อย​หรือเ​ลี้ยงแ​ บบ​ไล่ต​ ้อน

                              ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14