Page 260 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 260

14-34 ก​ ารจ​ ัดการก​ าร​ผลิต​ไม้ด​ อกไม้​ประดับ​เชิง​ธุรกิจ​

เร่อื ง​ที่ 14.4.1  
ความ​รู้ท​ ว่ั ไป​เกี่ยวกับการผ​ ลติ ​บอน​สี

1. ประวตั บ​ิ อนส​ ี

       บอนส​ ีเ​ป็นไ​ม้ป​ ระดับท​ ี่ม​ ีค​ วามส​ วยงามโ​ดยเ​ฉพาะใ​บท​ ี่ม​ ีร​ ูปท​ รงแ​ ละส​ ีสันส​ วยงามแ​ ปลกต​ า จนไ​ด้ร​ ับก​ ารข​ นาน​
นามว​ ่า “ราชินีแ​ ห่ง​ไม้ใ​บ (Queen of the Leafy Plant)” เป็นพ​ ืช​ที่จ​ ัดอ​ ยู่​ใน​สกุล Caladium วงศ์ Araceae (Arum
Family) มีชื่อ​วิทยาศาสตร์​ว่า Caladium bicolor แต่เ​ดิม​เรียกก​ ัน​ว่า “บอนฝ​ รั่ง” ทำให้ค​ าดเ​ดา​ได้ว​ ่า​เป็น​พืช​ที่ไ​ม่​ได้ม​ ี​
ถิ่นก​ ำเนิดใ​นป​ ระเทศไทย

       บอนส​ ม​ี ถ​ี ิน่ ก​ ำเนดิ อ​ ยใู​่ นเ​ขตร​ อ้ นข​ องอ​ เมรกิ าใต้ แพรห​่ ลายเ​ขา้ ไปท​ างย​ โุ รป อนิ เดยี อนิ โดนเี ซยี และป​ ระเทศไทย​
ตั้งแต่​สมัย​สุโขทัย​จนถึง​สมัย​กรุง​รัตนโกสินทร์ เมื่อ​พระบาท​สมเด็จ​พระ​จุลจอมเกล้า​เจ้า​อยู่​หัว​เสด็จ​นิวัต​พระนคร​
หลัง​การ​เสด็จ​ประพาส​ยุโรป ทรง​นำ​พันธุ์​ไม้​ชนิด​ต่างๆ จาก​ยุโรป​เข้า​มา​ปลูก​ใน​ประเทศไทย รวม​ทั้ง​บอน​สี​ด้วย ใน​
ช่วง​แรก​ปลูก​เลี้ยง​กัน​เฉพาะ​ใน​กลุ่ม​ของ​เจ้า​นาย​ฝ่ายใน​และ​ข้า​ราช​บริพาร​ชั้น​ผู้ใหญ่ ซึ่ง​ถือ​ได้​ว่า​เป็น​จุด​เริ่ม​ต้น​ใน​การ​
นิยมป​ ลูก​เลี้ยงบ​ อน​สีท​ ี่​แพร่ห​ ลาย​ใน​ประเทศไทย นับแ​ ต่ป​ ี พ.ศ. 2444 เป็นต้นม​ า การป​ ลูก​เลี้ยงใ​น​ระยะแ​ รกม​ ัก​ปิดบัง​
วิธี​การ​ปลูก​เลี้ยง​และ​การ​ผสม​พันธุ์ จน​กระทั่ง​ต่อ​มา​ความ​นิยม​เสื่อม​ลง บอน​สี​พันธุ์​ต่างๆ จึง​ได้​มี​โอกาส​แพร่​หลาย​สู่​
ประชาชน ซึ่งก​ าร​ปลูกเ​ลี้ยงบ​ อน​สีไ​ด้ม​ ีต​ ่อ​เนื่องก​ ัน​มาต​ ลอด​จนถึง​ประมาณป​ ี พ.ศ. 2470-2475 เป็นช​ ่วงท​ ี่​บอน​สี​ได้ร​ ับ​
ความ​นิยมส​ ูงสุด มีก​ าร​ผสม​พันธุ์บ​ อนส​ ีใ​หม่ๆ ขึ้น​มา​มากมาย มี​การแ​ ลก​เปลี่ยนซ​ ื้อ​ขาย​กัน​อย่าง​แพร่​หลาย มี​การต​ ั้งช​ ื่อ​
แยกห​ มวดห​ มู่​ตาม​ลักษณะ และ​สีสันข​ อง​ใบ​ออก​เป็น​กลุ่มๆ เรียก​ว่า ตับ โดย​ใช้ช​ ื่อ​ตัวล​ ะครใ​นว​ รรณคดีบ​ ้าง ชื่อจ​ ังหวัด​
บ้าง ชื่อ​บุคคล​สำคัญ​ใน​ประวัติศาสตร์​บ้าง และ​จัด​ให้​มี​การ​ประกวด​กัน​ที่​สนาม​บาร์​ไก่​ขาว ซึ่ง​ตั้ง​อยู่​บริเวณ​ที่​เป็น​ร้าน​
ศร​แดงอ​ นุสาวรีย์​ประชาธิปไตย​ในป​ ัจจุบัน หลังจ​ ากป​ ี พ.ศ. 2475 บอน​สีค​ ่อยๆ เสื่อมค​ วามน​ ิยม​ลงจ​ นกระทั่งใ​น​ราว​ปี
พ.ศ. 2508 มีท​ นายความ 2 ท่าน ได้แก่ คุณย​ ิ่ง มี​เมศ​ กุล และ มล.ประจวบ นพว​ งศ์ ณ อยุธยา เห็นภ​ าพค​ ุณ​อา​ภัสร​ า
หงส​กุล ขณะก​ ำลังป​ ระกวดน​ างสาวจ​ ักรวาล มีร​ ูปต​ ้นไม้ต​ ้นห​ นึ่ง​ใบส​ วยงาม​มาก​ติด​อยู่​หลัง​ภาพ​นั้น จึง​ได้​สั่ง​บอน​พันธุ​์
รูป​ใบ​ยาว จาก​บริษัท โพส​แมน​จอยเน่​อร์ ประเทศ​สหรัฐอเมริกา​เข้า​มา​และ​นำ​มาท​ดล​อง​ปลูก​เลี้ยง​และ​ผสม​พันธุ์​ได้​
ลูกผสม​พันธุ์​ใหม่ๆ เพิ่ม​ขึ้น บอน​สี​กลับ​มา​ได้​รับ​ความ​นิยม​อีก​ครั้ง​ราว ปี พ.ศ. 2522-2525 และ​มี​การ​จัด​ตั้ง​สมาคม​
บอนส​ ี​แห่ง​ประเทศไทย เพื่อส​ ่งเ​สริม​อนุรักษ์แ​ ละพ​ ัฒนาการป​ ลูกเ​ลี้ยงบ​ อน​สี และ​รับ​จดท​ ะเบียนช​ ื่อ​บอน​สี ปัจจุบันก​ าร​
ปลูกเ​ลี้ยงบ​ อนส​ ไี​ดม้​ กี​ ารพ​ ัฒนาว​ ิธีก​ ารป​ ลูกเ​ลี้ยงแ​ ละพ​ ัฒนาส​ ายพ​ ันธุใ์​หม้​ สี​ ีสันส​ วยงามแ​ ปลกต​ าไ​ปจ​ ากเ​ดิมม​ าก จนอ​ าจ​
กล่าวไ​ด้​ว่า บอน​สีค​ ือบ​ อน​ของค​ น​ไทย

       การ​ตั้ง​ชื่อ​บอน​สี จะ​ใช้​ลักษณะ​สี​ของ​พื้น​ใบ รูป​ลักษณะ​ใบ​แบบ​ต่างๆ ความ​หมาย​จาก​ประ​จุด (เม็ด พร่า)
ขนาดค​ วามถี่ห​ ่าง ลักษณะแ​ ละส​ ภาพข​ องป​ ระจ​ ุด ความห​ มายจ​ ากท​ รวดทรง ตัวอย่างบ​ อนส​ ี​ที่​มี​การต​ ั้งช​ ื่อเ​หมาะส​ ม เช่น
“พราหมณ์ส​ า​นนท์” จัด​อยู่ใ​นต​ ับ​พระ​อภัย​มณี พื้น​ใบส​ ี​โศก​หนุน​เขียว หมายถ​ ึง ​พราหมณ์ ความส​ งบ เยือกเ​ย็น และ​
เทพเจ้า เม็ดห​ ่าง​เป็นร​ ะเบียบ หมาย​ถึง ความ​รอบคอบ มัก​น้อย สันโดษ ลักษณะก​ ารข​ ึ้น​เป็น​พุ่ม​กลม หมาย​ถึง ความ​
ซื่อสัตย์ เสมอต​ ้นเ​สมอป​ ลาย

                             ลขิ สิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265