Page 88 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 88

8-28 การจ​ ัดการ​การผ​ ลิตไ​ม้ด​ อกไม้ป​ ระดับเ​ชิงธ​ ุรกิจ​

                     (3) 	กลบ​ดิน​โดย​เว้น​บริเวณ​ตาห​ รือ​ยอด​เพื่อ​ให้​ไหล​แตกใ​บ
                     (4) 	นำ​น้ำ​เข้า​พื้นที่ใ​ห้​ท่วม ระดับ​น้ำ 30-50 เซนติเมตร
                     (5) 	สำรวจ​หลังป​ ัก​ดำ 15 วัน ถ้าไ​หลบ​ ัวไ​ม่​แตกใ​บใ​หม่​ควร​ปักด​ ำซ​ ่อม
                 2) 	ปลูกใ​ห้​ไหล​ลอยเ​หนอื ร​ ะดบั ด​ นิ วิธีน​ ี้​สามารถป​ ้องกัน​ไหล​และ​ใบ​เน่า​ได้ โดย
                     (1) 	เหลาไ​ม้ไผใ่​หม้​ ค​ี วามห​ นาเ​ลก็ น​ ้อย จากน​ ั้นต​ ัดไ​มไ้ ผใ่​หย้​ าวป​ ระมาณ 50 เซนติเมตร แลว้ ​
พับ​ครึ่ง
                     (2) 	นำ​ไหลท​ ี่เ​ตรียม​ไว้​สอด​ตรงร​ อย​พับ
                     (3) 	ปัก​ไม้ไผ่​ที่​มี​ไหล​สอด​ระหว่าง​รอย​พับ​ลง​ใน​ดิน​ให้​แน่น ให้​ไหล​บัว​สูง​กว่า​ระดับ​ดิน​
ประมาณ 10 เซนติเมตร และใ​ห้ใ​บ​บัวลอย​น้ำ 1 ใบ
       1.2 	การป​ ลูกบ​ วั ห​ ลวง​ในก​ ระถางป​ ลูก การป​ ลูก​บัว​หลวง​ใน​กระถางป​ ลูก​สามารถ​ประยุกต์ว​ ิธี​จากก​ ารป​ ลูกใ​น​
พื้นที่​หรือ​แปลงป​ ลูก​โดย​ลดข​ ั้นต​ อน​การเตร​ ี​ยม​พื้นที่ แต่​มี​ราย​ละเอียด​เพิ่มเ​ติม​ ดังนี้
            1.2.1 กระถาง​ปลูก​บัว​หลวง ต่าง​จาก​กระถาง​ปลูก​ไม้​ดอกไม้​ประดับ​ทั่วไป กล่าว​คือ ต้อง​เป็นก​ระ​ถาง​
ชนิดท​ ี่​ก้นก​ ระถาง​ไม่มีร​ ู​ระบาย​น้ำ เพื่อเ​ก็บ​กักน​ ้ำ​สำหรับ​การเ​จริญ​เติบโตข​ อง​บัว อาจใ​ช้​กระถางด​ ิน​เผา กระถาง​เคลือบ
หรือก​ ระถางเ​ขียน​ลวดลายส​ วยงาม​ตามแ​ ต่ผ​ ู้​ปลูก​ประสงค์​เลือกใ​ช้
            1.2.2 วสั ดปุ​ ลูก ควร​ใช้​ดินเ​หนียว​ที่ม​ ี​ธาตุโ​พแทสเซียมส​ ูง ผสม​กับ​ปุ๋ยค​ อก​เก่า
            1.2.3 วิธ​กี ารป​ ลกู ปฏิบัติด​ ังนี้
                 1) 	รดน้ำใ​ห้​ดิน​ผสม​อ่อนต​ ัว
                 2) 	นำ​ไหล​ปลูก​โดย​อาจ​ฝังใ​น​หลุม​ที่​ขุด​เตรียม​ไว้ หรืออ​ าจ​ใช้​ไม้ไผ่​เหลา​พับ​หัก​ครึ่ง​ปักต​ รึง​ไหลใ​ห​้
สูง​จากด​ ินป​ ลูก 10 เซนติเมตร
                 3)	เติมน​ ้ำ​ให้​เต็ม​กระถาง จัด​ให้​ใบ​ลอยเ​หนือ​น้ำ

2. การป​ ฏิบตั ริ​ ักษาบ​ วั ห​ ลวง​หลงั ​ปลกู

       บัวห​ ลวงท​ ั้งท​ ี่​ปลูกใ​นพ​ ื้นที่ใ​หญ่ห​ รือใ​นก​ ระถาง สามารถเ​จริญเ​ติบโตไ​ด้ด​ ี ให้ผ​ ลผลิตด​ อกบัวป​ ริมาณม​ ากห​ รือ​
สีส​ วย และใ​ห้ฝ​ ัก​สมบูรณ์ม​ ีเ​มล็ด​ปริมาณม​ ากแ​ ละค​ ุณภาพด​ ี หลังป​ ลูกค​ วรไ​ด้ร​ ับก​ าร​ปฏิบัติร​ ักษา​อย่างเ​หมาะส​ ม โดย​
เฉพาะก​ าร​ใส่​ปุ๋ยแ​ ละก​ าร​ป้องกันก​ ำจัด​ศัตรูบ​ ัว ดัง​รายล​ ะเอียด​ต่อไ​ปน​ ี้

       2.1 	การใ​ส่​ปุ๋ย  เมื่อ​บัวห​ ลวง​ที่​ปลูกเ​จริญ​เติบโตแ​ ละแ​ ตกใ​บใ​หม่ ควร​ใส่​ปุ๋ย​สูตร 16-20-0 หรือส​ ูตร 15-15-15
อตั รา 50 กิโลกรมั ต​ ่อไ​ร่ โดยห​ ว่านก​ ระจายใ​หท​้ ัว่ แ​ ปลง การใ​สป​่ ุ๋ยค​ รั้งต​ ่อไ​ปพ​ ิจารณาจ​ ากส​ ภาพบ​ วั ท​ ีป่​ ลกู ถ​ ้าพ​ บว​ ่าด​ อกบัว​
มี​ขนาด​เล็ก​ลง​หรือ​สีด​อก​บัว​จาง​ลง​หรือ​ใบ​โทรม ให้​ใส่​ปุ๋ย​ซ้ำ ใน​กรณี​ให้​ปุ๋ย​บัว​หลวง​กระถาง​ควร​นำ​ปุ๋ย​ห่อ​กระดาษ​
หนังสือพิมพ์ห​ รือด​ ิน​เหนียว ก่อนน​ ำ​ปุ๋ยท​ ี่ห​ ่อ​ฝัง 2-3 จุดร​ อบ​โคน​ต้น

       2.2 	การ​ป้องกัน​กำจัด​ศัตรู​บัว​หลวง  การ​ผลิต​บัว​หลวง​เชิง​ธุรกิจ อาจ​ประสบ​ปัญหา​ศัตรู ทั้ง​โรค แมลง​และ
ส​ ัตว์ศ​ ัตรู การ​ปฏิบัติ​รักษา​จึงค​ วรป​ ฏิบัติต​ าม​ชนิด​ของ​ศัตรูบ​ ัว ดังนี้

            2.2.1 การ​ป้องกัน​กำจัด​โรค โรค​สำคัญ​ที่​พบ​ทำลาย​บัว​หลวง ได้แก่ โรค​ใบ​จุด​ซึ่ง​เกิด​จาก​เชื้อ​รา
Cercospora sp. เป็น​โรค​ที่ไ​ม่ร​ ุนแรง จึงป​ ้องกันก​ ำจัด​โดยต​ ัด​ใบ​เป็น​โรค นำเ​ผา​ทำลาย

            2.2.2 การ​ป้องกัน​กำจัด​แมลง แมลง​สำคัญ​ที่​ทำลาย​บัว​หลวง​มี 5 ชนิด การ​ป้องกัน​กำจัด​ควร​ปฏิบัติ​
ดังนี้

                 1) หนอน​ชอน​ใบ​บัว (Semamia cretica) และ​หนอน​กิน​บัว (Nymphula orisnalis) ทำลาย​
บัว​หลวง​โดย​หนอน​ชอน​เข้า​ภายใน​ก้าน​ใบ กัด​กิน​ก้าน​และ​ใบ​บัว ใน​ระยะ​ที่​หนอน​ระบาด ป้องกัน​กำจัด​โดย​พ่น​สาร​
โมโ​น​โครโ​ตฟ​ อส หรือ ไซเ​พ​อร์เ​มท​ริน 1-2 ครั้ง

                             ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93