Page 89 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 89

การ​จัดการก​ าร​ผลิต​บัวแ​ ละ​พรรณ​ไม้น​ ้ำ 8-29

                 2) หนอนก​ ิน​บวั (Simya conspera Moore) ทำลายบ​ ัว​หลวงโ​ดย​กัด​กิน​ใบ​และ​ดอก ทำให้​ใบแ​ ละ​
ดอกม​ ีร​ อย​ขาดว​ ิ่น กำจัด​โดยจ​ ับ​ตัวห​ นอน​นำไ​ปท​ ำลาย

                 3) 	แมลงวนั ห​ นอนช​ อนใ​บบ​ วั (Steno chironomus nelumbus Tokunga & Kuroda) ทำลายบ​ ัวห​ ลวง​
โดย​ชอน​ไช​เข้า​ใน​เนื้อเยื่อ​บัว ส่วน​ที่​หนอน​ชอน​ไช​ผ่าน​กลาย​เป็น​สี​ดำ​เน่า​เป็น​ทาง สามารถ​ทำลาย​เน่า​ทั้ง​ใบ ถ้า​พบ​การ​
ทำลายเ​ล็กน​ ้อย​ควรต​ ัด​ใบแ​ ละ​เผา​ทำลาย ถ้า​ระบาด​มาก​ควรพ​ ่นส​ าร​โมโ​น​โครโ​ต​ฟอส 2 ครั้ง ห่าง 5-7 วัน

                 4) 	เพล้ยี ไ​ฟ (Scirtothrips sp., Selenothrips rubroccinctus Giard) ทำให้​หลังใ​บ​และด​ อกบัว​หลวง​
เป็นร​ อยด​ ่างส​ นี​ ้ำตาล ดอกเ​ล็กล​ งแ​ ละบ​ ิดเ​บี้ยว รวมท​ ั้งใ​หด้​ อกน​ ้อยล​ ง ป้องกันก​ ำจัดโ​ดยพ​ ่นค​ าร์บ​ าร​ ิล มาลาไ​ธอ​ อน หรือ​
คาร์โ​บ​ซัลเฟน

                 5) เพล้ีย​อ่อน (Rhopalosiphum nymphaea) ทำลาย​โดย​ดูด​น้ำ​เลี้ยง​จาก​ใบ​อ่อน ทำให้​ใบ​หยิก​งอ​
และ​สั้นล​ ง ป้องกัน​กำจัด​โดย​พ่นม​ า​ลาไธอ​ อน หรือโ​พ​รพาไ​กต์ ทุก 15 วัน​หรือท​ ุก​เดือน

            2.2.3 การป​ ้องกันก​ ำจดั ส​ ัตว์​ศัตรู สัตว์ศ​ ัตรู​ที่ส​ ำคัญ ได้แก่ ไร​แดงแ​ ละห​ อย​เชอ​รี่ การป​ ้องกัน​กำจัดค​ วร​
ปฏิบัติด​ ังนี้

                 1) 	ไรแ​ ดง  ทำลายโ​ดยด​ ดู ก​ นิ น​ ำ้ เ​ลีย้ งจ​ ากใ​บบ​ วั ทำใหส​้ ว่ นท​ ถี​่ กู ท​ ำลายเ​ปน็ จ​ ดุ ส​ เ​ี หลอื งแ​ ละใ​บเ​ปลีย่ น​
เป็นส​ ีน​ ้ำตาล​แห้ง ป้องกันก​ ำจัด​โดยพ​ ่น​โพร​ พาไ​กต์ ทุก 15 หรือ 30 วัน

                 2)	หอยเ​ชอร​ ี ทำลาย​โดยก​ ัด​กินใ​บ​และ​ก้านใ​บ​บัวห​ ลวง กำจัด​โดย​จับห​ อยเ​ชอร​ ี​ทำลาย

3. 	การเ​ก็บ​เก่ยี วแ​ ละก​ ารจ​ ัดการผ​ ลผลิต​หลงั ก​ ารเ​กบ็ เ​กยี่ วบ​ ัว​หลวง

       บัว​หลวง​ให้​ดอก​หลัง​ปลูก 3-4 เดือน การ​ผลิตบ​ ัว​หลวงเ​ชิงธ​ ุรกิจม​ ุ่ง​ให้​ได้​ผลผลิต ดอกบัว ฝักบัว​สด เมล็ดบ​ ัว
ไหลแ​ ละ​เหง้า การเ​ก็บเ​กี่ยวผ​ ลผลิตต​ ่างป​ ระเภท เก็บ​ต่างเ​วลาแ​ ละต​ ่าง​วิธีก​ าร ดังนี้

       3.1 	การเ​ก็บเ​กยี่ วด​ อกบวั ห​ ลวง  ดอกบัว​เป็น​ไม้​ตัด​ดอก​อีก​ประเภท​ที่​ตลาด​ต้องการ​สม่ำเสมอ สำหรับ​ใช้​เป็น​
พทุ ธบ​ ชู าใ​นว​ าระแ​ ละพ​ ธิ กี รรมต​ า่ งๆ ผลผลติ ด​ อกบวั ส​ ามารถท​ ย​ อยเ​กบ็ เ​กีย่ วไ​ดต้​ อ่ เ​นือ่ ง 3-4 เดอื น ทัง้ นี้ ลกั ษณะด​ อกบวั ​
ที่เ​ก็บเ​กี่ยว​มี 2 ลักษณะ ​ได้แก่ ดอกต​ ูม​และด​ อกบ​ าน

            3.1.1 	การเ​กบ็ เ​กยี่ วด​ อกบวั ต​ มู ระยะท​ ีค่​ วรเ​ก็บเ​กี่ยวเ​ป็นร​ ะยะท​ ีด่​ อกบัวห​ ลวงเ​จริญเ​ติบโตเ​ต็มท​ ีแ่​ ตย่​ ังไ​ม​่
บาน ควรเ​ก็บเ​กี่ยวใ​นช​ ่วงเ​ช้า วันเ​ว้นว​ ัน ด้วยก​ ารใ​ช้ม​ ือห​ ักก​ ้านใ​ห้ไ​ด้ค​ วามย​ าวก​ ้าน 40-50 เซนติเมตร จากน​ ั้นค​ ัดข​ นาด​
และ​รวม​มัดเ​ป็น​กำ กำ​ละ 10 ดอก ใช้ใบ​บัว​ห่อ สุดท้าย​ตัดป​ ลายก​ ้าน​ให้​ยาวเ​ท่าก​ ัน รอ​ขนส่ง​และ​จำหน่ายต​ ่อ​ไป

            3.1.2 การ​เก็บ​เกี่ยว​ดอก​บาน ดอกบัว​บาน​เป็น​ดอกบัว​ที่​แก่​จัด​เต็ม​ที่​มัก​เป็น​ที่​ต้องการ​ของ​ตลาด​ต่าง​
ประเทศ การ​เก็บ​เกี่ยว​และ​การ​จัดการ​หลัง​เก็บ​เกี่ยว​จำเป็น​ต้อง​ประณีต​ระมัดระวัง​ไม่​ให้​กลีบ​ดอก​ช้ำ จึง​ควร​ปฏิบัติ​
เป็น​ขั้นต​ อนด​ ังนี้

                1)	ระยะ​ที่​เหมาะ​สม​สำหรับ​การ​เก็บ​เกี่ยว​ขึ้น​กับ​บัว​แต่ละ​พันธุ์ เช่น บัว​พันธุ์​สัตตบงกช​ควร​เก็บ​
เกี่ยวเ​มื่อ​ดอกบัวโ​ผล่พ​ ้น​น้ำ 10 วัน สังเกตไ​ด้จ​ าก​เมื่อ​กลีบ​เลี้ยงเ​ปลี่ยน​เป็น​สี​น้ำตาล

                2) 	ใช้โ​ฟม​ตาข่ายห​ ุ้มด​ อกบัวเ​พื่อ​ลด​การ​ช้ำ	 	 	
                3) 	ใช้ม​ ีดท​ ี่ค​ มแ​ ละส​ ะอาด ตัดก​ ้านใ​บแ​ ละจ​ ุ่มใ​นน​ ้ำร​ ้อนป​ ระมาณ 3 วินาที เพื่อก​ ำจัดน​ ้ำย​ าง จากน​ ั้น​
จึงแ​ ช่​ในภ​ าชนะ​บรรจุ​น้ำ เพื่อ​ป้องกัน​ดอกบัวข​ าดน​ ้ำ นอกจาก​นี้​ควรห​ ลีก​เลี่ยงก​ ารห​ อบด​ อก​บานใ​น​อ้อม​แขน ซึ่งท​ ำให​้
ดอกบัว​ช้ำ หลัง​ตัด​ดอก​ควรเ​ร่งล​ ำเลียง​ดอกบัว​หลวงไ​ป​ยัง​โรง​เรือน​เพื่อด​ ำเนินก​ าร​ขั้น​ตอนท​ ี่ 4 และ 5 ต่อ​ไป
                4) 	หุ้ม​รอย​ตัด​ที่​ปลาย​ก้าน​ดอก​ด้วย​สำลี​ชุบ​น้ำ​สะอาด จาก​นั้น​ใช้​ถุง​พลาสติก​หุ้ม​ทับ​อีก​ชั้น เพื่อ​
แก้ป​ ัญหา​ดอกบัวข​ าด​น้ำ​ระหว่างข​ นส่ง
                5) บรรจุ​ดอกบัว​ในก​ ล่อง​กระดาษ​ลูกฟูก​ที่​รองพ​ ื้น​ด้วย​แผ่น​ฟิ​มล์​พลาสติก ควร​ยึด​ก้าน​ดอกไ​ม่ใ​ห้​
เคลื่อนที่ไ​ด้ และว​ าง​วัสดุ​ที่​มีค​ ุณสมบัติด​ ูดก​ ๊าซ​เอทิลี​น ก่อนผ​ นึก​ฝาก​ล่องใ​ห้​เรียบร้อย

                              ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94