Page 96 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 96

8-36 การ​จัดการก​ ารผ​ ลิต​ไม้​ดอกไม้​ประดับเ​ชิง​ธุรกิจ​

ตอนท​ ี่ 8.3
การ​จดั การก​ ารผ​ ลิต​บวั ป​ ระดบั

โปรดอ​ ่านห​ ัว​เรื่อง แนวคิด และ​วัตถุประสงค์ข​ อง​ตอนท​ ี่ 8.3 แล้วจ​ ึง​ศึกษาร​ ายล​ ะเอียด​ต่อ​ไป

  หัว​เร่ือง

         8.3.1 	ความ​รู้ท​ ั่วไป​เกี่ยว​กับบ​ ัว​ประดับ
         8.3.2 	พฤกษศาสตร์ข​ องบ​ ัว​ประดับ
         8.3.3 	กระบวนการผ​ ลิต​บัวป​ ระดับ
         8.3.4 	กรณีต​ ัวอย่างก​ ารจ​ ัดการก​ ารผ​ ลิตบ​ ัว​ประดับ

  แนวคดิ

         1. 	 บ ัวป​ ระดับป​ ระกอบด​ ้วยก​ ลุ่มบ​ ัวส​ ายแ​ ละบ​ ัวว​ ิกตอเรีย เป็นบ​ ัวท​ ี่ม​ ีดอ​ กแ​ ละใ​บง​ ดงาม จึงน​ ิยมน​ ำม​ า​
             ใช้ป​ ระโยชน์ใ​นก​ าร​ปลูก​ประดับ​อาคารส​ ถาน​ที่เ​ป็นส​ ่วน​ใหญ่ ประเทศไทย​มีบ​ ัวจ​ งกลนี ซึ่ง​เป็น​พันธุ​์
             บัว​สาย​พื้น​เมือง​ที่​สวยงาม​และ​โดด​เด่น การ​ผลิต​บัว​สาย​ของ​ไทย​ส่วน​ใหญ่​ผลิต​เป็นก​ระ​ถาง​เพื่อ​
             จำหน่าย​ตลาด​ภายใน​ประเทศ แต่​ปัจจุบัน​สามารถ​ขยาย​ธุรกิจ​ส่ง​ออก​บัว​สาย​ไป​ยัง​ประเทศ​ต่างๆ
             ได้ เนื่องจากไ​ทยม​ หี​ ลากห​ ลายพ​ ันธุบ​์ ัวส​ ายท​ ีส่​ วยงาม สภาพแ​ วดล้อมเ​อื้ออ​ ำนวยท​ ำใหส​้ ามารถป​ ลูก​
             บัว​สาย​ได้​ตลอด​ปี และ​เกษตรกร​ไทย​เชี่ยวชาญ​การ​ผลิต สินค้า​บัว​สาย​ใน​ตลาด​จึง​มี​ทั้ง​บัว​สาย​
             กระถาง บัว​สาย​ตัด​ดอก หัวแ​ ละต​ ้น​อ่อน​บัวส​ าย

         2. 	 บัว​ประดับ​จัด​อยู่​ใน​วงศ์ Nymphaeaceae ที่​รู้จัก​กัน​แพร่​หลาย​ ได้แก่ บัว​สาย​และ​บัว​วิกตอเรีย
             โดย​บัว 2 สกุล​มี​ลักษณะ​ทาง​พฤกษศาสตร์​ที่​แตก​ต่าง​กัน​บาง​ประการ บัว​สาย​มี​ลำต้น​ใต้ดิน​
             แบบ​เหง้า หัว หรือ​ไหล ขึ้น​กับ​ชนิด ดอก​เป็น​แบบ​สมบูรณ์​เพศ รังไข่​เมื่อ​ผ่าน​การ​ผสม​งอ​ตัว​ลง​
             เจริญเ​ติบโตใ​ต้น​ ้ำ บัวส​ ายแ​ บ่งไ​ด้ 3 กลุ่ม ได้แก่ บัวส​ ายเ​ขตร​ ้อนบ​ านก​ ลางค​ ืน บัวส​ ายเ​ขตร​ ้อนบ​ าน​
             กลางว​ ัน และบ​ วั ส​ ายเ​ขตห​ นาว สว่ นบ​ ัวว​ ิกตอเรยี ม​ ใ​ี บข​ นาดใ​หญ่ ขอบใ​บย​ กต​ ัง้ ส​ ูง ดอกเ​มือ่ แ​ รกบ​ าน​
             มสี​ ขี​ าวแ​ ละเ​ปลี่ยนเ​ป็นช​ มพแู​ ละแ​ ดงใ​นท​ ี่สุด สำหรับก​ ารข​ ยายพ​ ันธุบ์​ ัวป​ ระดับเ​ลือกไ​ดห้​ ลายว​ ิธตี​ าม​
             ลักษณะ​ลำต้น​ใต้ดิน​หรือ​ส่วน​ขยายพ​ ันธุ์ต​ ่างๆ

         3. 	 การ​ผลิต​บัว​ประดับ​ควร​เริ่ม​ต้น​ด้วย​การ​เลือก​พื้นที่​หรือ​ภาชนะ​ปลูก​ให้​เหมาะ​สม​กับ​ขนาด​ต้น​และ​
             ใบ จากน​ ั้นจ​ ึงเ​ตรียมด​ ินป​ ลูกโ​ดยใ​ชด้​ ินเ​หนียวผ​ สมป​ ุ๋ยค​ อกห​ รือป​ ุ๋ยอ​ ินท​ รีย์อ​ ื่นๆ วิธกี​ ารป​ ลูกข​ ึ้นก​ ับ​
             สว่ นข​ ยายพ​ นั ธทุ​์ ใี​่ ช้ หลงั ป​ ลกู ค​ วรใ​สป​่ ุย๋ ส​ ตู รเ​สมอท​ กุ เ​ดอื น โดยห​ อ่ ป​ ุย๋ เ​ปน็ ก​ อ้ นฝ​ งั ใ​นด​ นิ ร​ อบโ​คนต​ น้
             ควรร​ ักษาร​ ะดับน​ ้ำ ความเ​ป็นกร​ ดด​ ่างแ​ ละค​ วามส​ ะอาดข​ องน​ ้ำอ​ ย่างส​ ม่ำเสมอ รวมท​ ั้งป​ ้องกันก​ ำจัด​
             โรค​ใบจ​ ุด หนอนพ​ ับ​ใบ​และ​ลูก​อ๊อด​เขียด

         4. 	 ก รณีศ​ ึกษาจ​ ัดการ​ผลิต​บัวป​ ระดับ​กลุ่ม​บัวส​ าย​ใน​พื้นที่ 4 ไร่ โดย​ผลิต​ทั้ง​ใน​บ่อ​ดิน​และใ​น​กระถาง​
             ปลูก ด้วย​การนำ​หัว เหง้า ต้นอ​ ่อน​หรือเ​มล็ด ปลูกห​ รือ​ชำใ​น​ดิน​ที่​ผสมป​ ุ๋ย​คอก เมื่อ​ต้น​อ่อน​เจริญ​
             เติบโต จึงใ​ห้ป​ ุ๋ย​เคมี​สูตร​เสมอ โดย​หว่าน​กระจายใ​น​บ่อ​ดิน หรือ​ห่อป​ ุ๋ย​ด้วย​กระดาษ​เป็น​ห่อเ​ล็กๆ

                             ลิขสิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101