Page 98 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 98

8-38 การ​จัดการก​ ารผ​ ลิตไ​ม้​ดอกไม้​ประดับเ​ชิง​ธุรกิจ​

เร่อื ง​ท่ี 8.3.1
ความ​รู​ท้ ว่ั ไปเ​กีย่ ว​กับบ​ วั ป​ ระดับ

       บัว​ประดับ​เป็น​บัว​ที่​มี​ลักษณะ​ดอก​หรือ​ใบ​สวย​เด่น นิยม​ใช้​ประโยชน์​หลัก​ใน​การ​ประดับ​ตกแต่ง​สวน​น้ำ บ่อ
สระ​หรือ​อาคาร​สถาน​ที่ นอกจาก​นี้​อาจ​นำ​บัว​ประดับ​ใช้​ประโยชน์​ด้าน​อื่นๆ บัว​ประดับ​ประกอบ​ด้วย​กลุ่ม​บัว​สาย และ​
บัว​วิกตอเรีย​ซึ่ง​อยู่ใ​น​วงศ์​บัว​สาย โดยก​ ลุ่ม​บัวส​ ายม​ ีท​ ั้ง​พันธุ์​พื้น​เมืองข​ อง​ไทยแ​ ละ​พันธุ์​นำเ​ข้า​จากต​ ่าง​ประเทศ ส่วน​บัว​
วิกตอเรียเ​ป็นพ​ ันธุ์น​ ำ​เข้า​เพื่อป​ ลูก​ประดับ​ในไ​ทย​นาน​เกือบ​ร้อยป​ ี 	

       บัวส​ าย​หรืออ​ ุบลช​ าติ หรือ waterlily เป็นบ​ ัวก​ ้านใ​บ​อ่อน ไม่ส​ ามารถ​ชู​แผ่นใ​บข​ ึ้นเ​หนือ​น้ำ​ได้ แผ่น​ใบจ​ ึงล​ อย​
ติดผ​ ิวน้ำ เป็นบ​ ัว​ในว​ งศ์ Nymphaeaceae คำ​ว่า “nymph” มี​ราก​ศัพท์ม​ า​จาก​ภาษาก​ รีก แปล​ว่า “สาวน​ ้อย​รูปง​ าม”
หรือ “เทพธิดาท​ ี่อ​ ยู่ใ​นน​ ้ำ” สอดคล้อง​กับ​ความ​งามข​ องด​ อกบัว​สาย ซึ่ง​มี​กลีบด​ อกบ​ าง หลากส​ ี บาน​ตาม​เวลา เมื่อบ​ าน​
ไปร​ ะยะเ​วลาห​ นึ่งก​ ็ห​ ุบ จากน​ ั้นส​ ามารถบ​ านใ​หม่ไ​ด้อ​ ีก ประมาณ 3 ครั้ง ทั้งย​ ังม​ ีบ​ ัวบ​ างพ​ ันธุบ์​ านเ​ฉพาะเ​วลาก​ ลางว​ ันห​ รือ​
กลางค​ ืนเ​ท่านั้น นอกจากน​ ีบ้​ ัวส​ ายบ​ างพ​ ันธุ์ม​ สี​ ีดอ​ กเ​ปลี่ยนต​ ามอ​ ายกุ​ ารบ​ าน และบ​ างพ​ ันธุม์​ กี​ ลิ่นห​ อม จึงเ​ป็นไ​มด้​ อกอ​ ีก​
ชนิดท​ ี่​มีล​ ักษณะ​พิเศษต​ ่าง​จากไ​ม้​ดอกไม้​ประดับช​ นิด​อื่นๆ

       บัวส​ ายเ​ป็นพ​ ืชท​ ีเ่​ก่าแ​ กท่​ ี่สุดใ​นโ​ลกช​ นิดห​ นึ่งเ​ช่นเ​ดียวก​ ับบ​ ัวห​ ลวง ปัจจุบันพ​ บบ​ ัวส​ ายเ​จริญเ​ติบโตแ​ ละก​ ระจาย​
พันธุ์ท​ ั่วไปใ​นโ​ลกป​ ระมาณ 45 ชนิด โดยแ​ บ่งบ​ ัวส​ ายไ​ด้ 2 กลุ่ม ตามล​ ักษณะภ​ ูมิอ​ ากาศ ได้แก่ บัวส​ ายเ​ขตร​ ้อน (tropical
waterlily) บัวส​ าย​เขต​อบอุ่นห​ รือ​เขต​หนาว (hardy waterlily)

       การผ​ ลิต​บัว​ประดับข​ อง​ประเทศไทย​ส่วน​ใหญ่เ​ป็นการผ​ ลิต​บัวส​ าย ดัง​นั้น​ในต​ อน​ที่ 8.3 จึง​มุ่ง​เน้นใ​ห้ค​ วามร​ ู้​
เกี่ยวก​ ับ​บัวส​ าย สำหรับ​เรื่อง​ที่ 8.3.1 ขอน​ ำ​เสนอต​ ั้งแต่ค​ วาม​เป็นม​ าข​ องบ​ ัวส​ ายใ​นไ​ทย สถานการณ์ก​ าร​ผลิต​และ​การ​
ตลาด​บัวส​ าย ศักยภาพ​การผ​ ลิต​บัวส​ าย​ของ​ไทย​และ​ธุรกิจ​การผ​ ลิต​บัวส​ าย ดังร​ ายล​ ะเอียด​ต่อ​ไป​นี้

1. 	ความ​เปน็ ​มา​ของบ​ วั ​สาย​ใน​ประเทศไทย

       ประเทศไทย​มี​พันธุ์​บัว​สาย​พื้น​เมือง​ซึ่ง​เจริญ​เติบโต​ได้​ดี​ใน​สภาพ​ภูมิ​อากาศ​ร้อน​ชื้น มี​หลัก​ฐาน​แสดง​ว่า​
พระเจ้า​รามคำแหง​มหาราช​แห่ง​กรุง​สุโขทัย ทรง​ปลูก​ประดับ​บัว​สาย​พื้น​เมือง 5 พันธุ์​ร่วม​กับ​บัว​หลวง 2 พันธุ์ ใน
ส​ ระ​น้ำ​ภายในพ​ ระราชวัง ใน​ปี พ.ศ. 2330 มี​บันทึก​เกี่ยว​กับ​พันธุ์​บัว​สายแ​ ละ​ระบุช​ ื่อ “บัว​จงกลนี” ทั้งนี้​พันธุ์​บัว​ที่​บันทึก​
ในส​ มัย​สุโขทัย​สามารถ​เจริญเ​ติบโต​สืบทอดเ​ผ่าพ​ ันธุ์​ได้​ต่อเ​นื่อง จึง​ยังค​ ง​พบเห็นไ​ด้​ใน​ปัจจุบัน ต่อ​มา​ใน​ปี พ.ศ. 2444
พระ​วิ​มาดา​เธอ กรม​ขุน​สุธา​สินี​นาฏ ทรง​นำ​บัว​สาย​จาก​เกาะ​ชวา​มา​ปลูก​เลี้ยง​และ​พบ​ว่า​สามารถ​เจริญ​เติบโต​ได้​ดี
ปี พ.ศ. 2500 ศาสตรา​จารย​ ์​กสิน​ สุวต​ ะ​พันธุ์ จึง​ตั้งช​ ื่อ​บัว​พันธุ์​นี้​ว่า “สุทธา​ส​ ิ​โนบล” (สมาคม​พืช​สวนแ​ ห่ง​ประเทศไทย
2550) แต่​การ​ปลูกบ​ ัว​สาย​ยังค​ งจ​ ำกัด​เฉพาะใ​น​กลุ่ม​ผู้​สนใจ จวบ​จน​กระทั่งป​ ี พ.ศ. 2512 นัก​วิชาการท​ ั้งด​ ้านธ​ รรมชาต​ิ
วิทยา พืช​สวน​และ​ไม้​ดอก ต่าง​ทุ่มเท​ความ​สนใจ​ศึกษา​บัว​สาย​และ​นำ​เข้า​พันธุ์​บัว​สาย​ต่าง​ประเทศ เพื่อ​การ​ผสม​และ​
ปรับปรุง​พันธุ์ ขณะ​นี้​สามารถ​สร้าง​พันธุ์​บัว​สาย​ใหม่​ได้​ประมาณ 100 พันธุ์ สร้าง​ธุรกิจ​การ​ผลิต​บัว​สาย​ให้​ขยาย​กว้าง
จ​ นส​ ามารถ​ส่ง​ผลผลิตบ​ ัว​สาย​จำหน่าย​ทั้งใ​น​และต​ ่าง​ประเทศ

                             ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103