Page 29 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 29

การ​วิเคราะห์แ​ ละ​การแ​ ปล​ผล​ข้อมูล 11-19

รับเ​งินเ​ดือน​ใน​ช่วง มากกว่า 60,000 บาท คิด​เป็นร​ ้อยล​ ะ 31.99 และไ​ด้​รับเ​งิน​เดือน​ในช​ ่วง 30,001-40,000
บาท น้อยท​ ี่สุด คิด​เป็นร​ ้อยล​ ะ 3.02 สำ�หรับ​ประสบการณ์ใ​น​การเ​ป็น​ผู้บ​ ริหาร กลุ่มต​ ัวอย่างร​ ้อยล​ ะ 27.50 ม​ี
ประสบการณ์​ใน​การ​เป็น​ผู้บ​ ริหาร 11-15 ปี มีป​ ระสบการณ์​ในก​ าร​เป็น​ผู้บ​ ริหาร 5-10 ปี และ 16-20 ปี จำ�นวน​
เท่า​กัน​คือร​ ้อย​ละ 20.00

       1.2 	การ​แจกแจง​ความถ่ี​แบบ​สอง​ทาง เป็นการ​นำ�​ตัวแปร​สอง​ตัว​มา​แจกแจง​ความถี่​พร้อม​กัน​แล้ว
น​ ำ�​เสนอใ​นต​ ารางเ​ดยี วกนั เชน่ ในง​ านว​ ิจยั ข​ า้ งต​ ้น นกั ว​ จิ ยั ส​ ามารถน​ ำ�​เสนอจ​ ำ�นวนแ​ ละร​ ้อยล​ ะข​ องก​ ลุม่ ต​ วั อย่าง​
จำ�แนกต​ ามเ​พศ ระดับก​ าร​ศึกษา ช่วงเ​งินเ​ดือน และป​ ระสบการณ์​ใน​การ​เป็น​ผู้​บริหาร โดย​จำ�แนกต​ าม​ขนาด​
ของส​ ถาน​ศึกษาด​ ้วย ใน​ที่น​ ี้​จะแ​ สดง​การว​ ิเคราะห์เ​ฉพาะ​การ​แจกแจง​ความถี่​ของ​ตัวแปรเพศ​พร้อม​กับข​ นาด​
ของส​ ถานศ​ ึกษา ดังต​ ารางท​ ี่ 11.4

ตารางท​ ่ี 11.4 จ�ำ นวนแ​ ละร​ อ้ ยล​ ะ​ของก​ ลมุ่ ​ตัวอยา่ ง​จาก​สถาน​ศกึ ษาข​ นาด​เล็ก​และ​ขนาดก​ ลางจ​ �ำ แนก​ตาม​เพศ

     ขนาด          เล็ก             กลาง                 รวม
เพศ        จ�ำ นวน ร้อยละ                         จ�ำ นวน ร้อยละ
                           จ�ำ นวน        ร้อยละ
ชาย          45 22.50                               97 24.25
หญิง        155 77.50      52 26.00                303 75.75
                           148 74.00
    รวม     200 100                                400 100
                           200 100

       จากต​ ารางท​ ี่ 11.4 พบว​ ่าก​ ลุ่ม​ตัวอย่างม​ าจ​ ากส​ ถานศ​ ึกษา​ขนาด​เล็กแ​ ละ​ขนาด​กลาง​จำ�นวนเ​ท่าก​ ัน​คือ
200 คน กลุ่ม​ตัวอย่างม​ า​จากส​ ถานศ​ ึกษาข​ นาด​เล็ก เป็นเ​พศ​หญิง ร้อยล​ ะ 77.50 เพศ​ชาย ร้อย​ละ 22.50 และ​
กลุ่มต​ ัวอย่างม​ า​จากส​ ถาน​ศึกษา​ขนาดก​ ลาง เป็นเ​พศห​ ญิง ร้อยล​ ะ 74.00 เพศ​ชาย ร้อย​ละ 26.00 ซึ่ง​ทั้งส​ อง​
กลุ่มม​ ี​โครงสร้างข​ องก​ ลุ่ม​ตัวอย่างจ​ ำ�แนก​ตาม​เพศใ​กล้​เคียง​กัน

       ข้อ​ควร​พิจารณา​ใน​การ​แจกแจง​ความถี่ ใน​การ​แจกแจง​ความถี่​ของ​ข้อมูล นัก​วิจัย​ควร​ระวัง​ใน​เรื่อง​
ต่าง ๆ ดังนี้

       1. 	 ตัวแปร​ที่​จะ​นำ�​มา​แจกแจง​ความถี่ ควร​เป็น​ตัวแปร​ที่​วัด​ใน​มาตรา​นาม​บัญญัติ หรือ​เรียง​อันดับ
เช่น ตัวแปร​เพศ ระดับ​การศ​ ึกษา ส่วนต​ ัวแปร​ที่ว​ ัด​ใน​มาตรา​อันตรภาค หรืออ​ ัตราส่วน หรือ​ข้อมูลเ​ชิง​ปริมาณ
ต้องท​ ำ�​เป็นช​ ่วงก​ ่อน แล้ว​ค่อย​นำ�​มา​แจกแจง​ความถี่ เช่น ตัวแปรอ​ ายุ คะแนน NT เป็นต้น

       2. 	 การ​คำ�นวณ​ค่า​ร้อย​ละ ต้อง​มี​ข้อมูล​มาก​พอ (ไม่มี​เอกสาร​อ้างอิง​ที่​กล่าว​ไว้​ชัดเจน​ว่า​จำ�นวน​มาก​
พอค​ ือเ​ท่าไร ในท​ ี่น​ ี้​ขอย​ ึดห​ ลักก​ ารท​ าง​สถิติท​ ี่​กล่าว​ว่าก​ ลุ่ม​ตัวอย่างข​ นาดใ​หญ่จ​ ะ​ต้อง​มีข​ นาดต​ ั้งแต่ 30 ขึ้น​ไป
ดังน​ ั้น จึงข​ อก​ ำ�หนดว​ ่าไ​ม่ค​ วร​ตํ่าก​ ว่า 30)

       3.	 นัก​วิจัยต​ ้องร​ ะมัดระวัง​ผล​รวม​ของร​ ้อยล​ ะ​ในท​ ุก​กลุ่มต​ ้อง​รวมก​ ันไ​ด้ 100.00 ไม่ใช่ 99.99 หรือ
100.01
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34