Page 30 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 30

11-20 การวิจัยการบริหารการศึกษา

2. 	การว​ ัด​แนวโ​นม้ ​เข้า​สู่ส​ ่วน​กลาง

       การว​ ดั แ​ นวโ​นม้ เ​ขา้ ส​ ส​ู่ ว่ นก​ ลาง (Measures of Central Tendency) เปน็ การห​ าค​ า่ ค​ า่ ห​ นึง่ ท​ เี​่ ปน็ ต​ วั แทน
ของ​ข้อมูล​ชุด​นั้น ๆ เพื่อน​ ำ�​มาใ​ช้​อธิบายภ​ าพร​ วม​ของข​ ้อมูลช​ ุดน​ ั้น เช่น ใน​การ​ศึกษา​คะแนน NT ของ​นักเรียน
นักว​ ิจัย​ได้​สุ่ม​ตัวอย่างส​ ถาน​ศึกษาข​ นาด​เล็ก​และ​ขนาดก​ ลาง​มา 400 แห่ง แล้วบ​ ันทึก​คะแนนเ​ฉลี่ย NT ของ​
สถาน​ศึกษา​แต่ละ​แห่ง จากส​ ำ�นัก​ทดสอบ​ทางการ​ศึกษา คะแนนเ​ฉลี่ย NT ของ​สถาน​ศึกษา​จะ​มาก​บ้างน​ ้อย​
บ้าง หาก​นักว​ ิจัยต​ ้องหาค​ า่ ก​ ลาง​ค่าห​ นึ่งท​ ี่​เป็น​ตัวแทนข​ องค​ ะแนน​เฉลี่ย NT ของส​ ถานศ​ ึกษา​ทั้ง 400 แห่ง​นั้น
เรียก​วิธีก​ าร​หาค​ ่า​กลางน​ ี้ เรียก​ว่า การว​ ดั แ​ นว​โน้มเ​ขา้ ​สส่​ู ว่ น​กลาง

       วิธีก​ ารว​ ัดแ​ นวโ​น้ม​เข้าส​ ู่​ส่วน​กลาง มีห​ ลายว​ ิธี เช่น ค่าเ​ฉลี่ยเ​ลขคณิต (arithmetic mean) ค่าเ​ฉลี่ย​
เรขาคณิต (geometric mean) ค่าเ​ฉล​ ี่ย​ ฮ​ าร์โ​มน​ ิค (harmonic mean) มัธยฐาน (median) ฐานนิยม (mode)
การ​วัด​แนว​โน้ม​เข้า​สู่​ส่วน​กลาง​แต่ละ​วิธี​เหมาะ​สม​กับ​ข้อมูล​ที่​มี​ลักษณะ​แตก​ต่าง​กัน​ไป ค่า​กลาง​ที่​นิยม​ใช้​ใน​
การว​ ิจัยท​ างบ​ ริหารก​ ารศ​ ึกษา ได้แก่ ค่าเ​ฉลี่ยเ​ลขคณิต (arithmetic mean) มัธยฐาน (median) และฐ​ านนิยม
(mode) ซึ่ง​จะก​ ล่าว​ถึงว​ ิธี​การห​ าค​ ่าก​ ลาง หรือก​ ารว​ ัด​แนวโ​น้ม​เข้า​สู่ส​ ่วน​กลาง​แต่ละ​วิธี ดังนี้

       2.1	 ค่า​เฉล่ีย​เลขคณิต (arithmetic Mean) หรือ​บาง​ครั้ง​เรียก​ว่า มัชฌิม​เลขคณิต แต่​ต่อ​ไป​นี้​จะ​
เรียก​สั้น ๆ ว่า ค่า​เฉลีย่ ซึ่งเ​ป็นการว​ ัด​แนวโ​น้ม​เข้า​สู่​ส่วน​กลาง​ที่​นิยมใ​ช้​มากท​ ี่สุด

       ค่าเ​ฉลี่ย (Mean) คือ ผล​บวก​ของ​ค่าข​ องข​ ้อมูล​ชุดน​ ั้น​ทุกต​ ัวแ​ ล้ว​หารด​ ้วย​จำ�นวนข​ ้อมูลท​ ั้งหมด แบ่ง​
ออกเ​ป็นส​ องก​ รณีค​ ือ การห​ าค​ ่าเ​ฉลี่ยข​ องข​ ้อมูลท​ ี่ไ​ม่แ​ จกแจงค​ วามถี่ และก​ ารห​ าค​ ่าเ​ฉลี่ยข​ องข​ ้อมูลท​ ี่แ​ จกแจง​
ความถีแ่​ ล้ว ปัจจุบันก​ ารห​ าค​ ่าเ​ฉลี่ยจ​ ะใ​ชโ้​ปรแกรมส​ ำ�เร็จรูปท​ ีค่​ ำ�นวณค​ ่าเ​ฉลี่ย จากข​ ้อมูลท​ ีไ่​มแ่​ จกแจงค​ วามถี​่
ซึ่ง​ใช้ส​ ูตร​ทั่วไป​ได้​ดังนี้

ค่า​เฉลี่ย	 =	                   ผลร​ วมข​ อง​ค่า​ของ​ข้อมูล​ทั้งหมด          	                       ..........(1)
                                     จำ�นวน​ข้อมูล​ทั้งหมด

ถ้า​กำ�หนดใ​ห้ 	m 	 (อ่าน​ว่า มิว) แทนค​ ่าเ​ฉลี่ย​ของป​ ระชากร

	 x 	 (อ่าน​ว่า เอ็กซ์-บาร์) แทน​ค่าเ​ฉลี่ยข​ องก​ ลุ่มต​ ัวอย่าง

	 N 	 แทนจ​ ำ�นวนข​ ้อมูล​ใน​ประชากร

	 n 	 แทนจ​ ำ�นวนข​ ้อมูลใ​น​กลุ่มต​ ัวอย่าง

	 S	 แทนก​ ารร​ วม​กัน

	 xi 	 แทน ข้อมูล​ตัวท​ ี่ i
จะ​ได้​สูตร​การ​คำ�นวณค​ ่าเ​ฉลี่ยด​ ังนี้
                                            N
                                            iΣ=1 xi
ค่า​เฉลี่ย​ของป​ ระชากร 	        m	 =	      N         	  ซึ่ง​อาจเ​ขียนย​ ่อ  ๆ  ว่า	  m	 =	   Σx  	  ..........(2)
                                                                                               N      ...........(3)

ค่าเ​ฉลี่ย​ของก​ ลุ่ม​ตัวอย่าง	 x	 =	       n     xi  	  ซึ่ง​อาจ​เขียนย​ ่อ ๆ ว่า	    x	  =	  Σx  	
                                                                                               n
                                            iΣ=1
                                            n
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35