Page 35 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 35
การว ิเคราะห์แ ละก ารแ ปลผ ลข้อมูล 11-25
ผังก ารเลือกใช้ค่ากลางที่เหมาะส มตามร ะดับการวัดแ ละการแ จกแจงข องข ้อมูล
ข้อมูล
ระดบั การว ดั นามบัญญัติ เรียงลำ�ดับ อันตรภาค/อัตราส่วน
การแจกแจง ฐานนิยม ปกติ มี Outliers
ค่าก ลางทใี่ ช ้ มัธยฐาน ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน
ภาพท ่ี 11.6 ผงั ก ารเลือกใชค้ ่ากลางทเ่ี หมาะสมต ามระดับการวดั และการแจกแจงของข้อมลู
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการว ัดแ นวโน้มเข้าสู่ส ่วนกลาง (Muijs. 2011: 96)
1. ถ้าตัวแปรว ัดออกมาเป็นตัวเลข ตัวเลขเหล่านั้นสามารถน ำ�มาเรียงอ ันดับได้ ใช่หรือไม่
ตอบ ไม่จำ�เป็น เมื่อนักวิจัยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ เราจะให้ค่าตัวเลขกับกลุ่มต่าง ๆ เช่น เพศ
เราให้ตัวเลข 1 แทน หญิง และ 2 แทน ชาย เราไม่ส ามารถนำ�ตัวเลข 1 และ 2 มาเรียงอันดับกันได้
2. ค่าเฉลี่ย กับ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เป็นส ิ่งเดียวกันใช่ห รือไม่
ตอบ เมื่อน ักวิจัยพ ูดถ ึง ค่าเฉลี่ย มักหมายถึง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ในท างสถิติ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เป็น
เพียงส ่วนห นึ่งข องค ่าเฉลี่ย เพราะค ่าเฉลี่ยค ือค ่าค ่าห นึ่งท ีเ่ป็นต ัวแทนข องข ้อมูลช ุดน ั้น มัธยฐานและฐานนิยม
ก็เป็นค ่าเฉลี่ยเช่นเดียวกัน
3. เมื่อตัวแปรเป็นตัวแปรต่อเนื่อง เรามักใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ในการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ใช่หรือไม่
ตอบ ไม่จำ�เป็น ค่าเฉลี่ยเลขคณิตไม่ใช่สถิติที่ดีที่สุดในการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางของตัวแปร
ต่อเนื่องเสมอไป ค่าสุดโต่ง หรือค่าผิดปกติ (extreme cases หรือ outliers) มีผลกระทบต่อค่าเฉลี่ย
เลขคณิต เมื่อข ้อมูลมีค่าสุดโต่ง หรือค ่าผ ิดป กติ ค่ามัธยฐานจ ะมีความตรงในการว ัดแ นวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
มากกว่าค ่าเฉลี่ยเลขคณิต แม้ว่าจ ะเป็นต ัวแปรต่อเนื่องก็ตาม