Page 40 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 40

11-30 การวิจัยการบริหารการศึกษา

       ตวั อยา่ งเ​ชน่ ในก​ ารใ​ชน​้ วตั กรรมเ​พือ่ พ​ ฒั นาค​ วามร​ คู​้ วามเ​ขา้ ใจข​ องน​ กั เรยี นเ​กีย่ วก​ บั เ​ศรษฐกจิ พ​ อเ​พยี ง
​นัก​วิจัย​วัด​ค่า​เฉลี่ย ส่วน​เบี่ยง​เบน​มาตรฐาน ของ​คะแนน​ความ​รู้​ความ​เข้าใจ​ก่อน​ใช้​นวัตกรรม​และ​หลัง​ใช้​
นวัตกรรม ดัง​ตารางท​ ี่ 11.7 พบว​ ่า ส่วนเ​บี่ยงเ​บน​มาตรฐานข​ อง​คะแนนค​ วามร​ ู้ค​ วามเ​ข้าใจเ​กี่ยว​กับ​เศรษฐกิจ​
พอ​เพียง​ของ​นักเรียน​หลัง​ใช้​นวัตกรรม​เท่ากับ 10.42 ซึ่ง​สูง​กว่าก่อน​ใช้​นวัตกรรม แต่​คะแนน​เฉลี่ย​ความ​รู้​
ความ​เข้าใจ​เกี่ยว​กับ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​ของ​นักเรียน​ก่อน​และ​หลัง​ใช้​นวัตกรรม​ต่าง​กัน ใน​การ​เปรียบ​เทียบ​
การกร​ ะจ​ ายข​ องค​ ะแนนจ​ ึงต​ ้องค​ ำ�นวณค​ ่าส​ ัมประสิทธขิ์​ องก​ ารแ​ ปรผัน (CV) พบว​ ่า ค่าก​ ารกร​ ะจ​ ายข​ องค​ ะแนน​
ความร​ ู้ค​ วาม​เข้าใจ​ก่อนใ​ช้​นวัตกรรมส​ ูง​กว่าค​ ะแนนค​ วามร​ ู้ค​ วามเ​ข้าใจห​ ลังใ​ช้​นวัตกรรม

	 ตาราง​ท่ี 11.7 	คา่ ​เฉลยี่ ส่วน​เบีย่ ง​เบนม​ าตรฐาน และ​สมั ประสิทธขิ์​ องก​ ารแ​ ปรผนั ​ของค​ ะแนน​
		  ความร​ ​ู้ความ​เขา้ ใจ​กอ่ น​ใช​น้ วัตกรรมแ​ ละห​ ลงั ใ​ชน​้ วัตกรรม

    คะแนนความรู้ความเขา้ ใจ คา่ เฉล่ยี  SD                                C.V.

    ก่อนใช้นวัตกรรม               9.42 6.85 72.7
    หลังใช้นวัตกรรม              37.62 10.42 27.70

       ความเ​ข้าใจ​คลาด​เคล่อื น​เกย่ี วก​ ับ​การ​วดั ก​ ารกร​ ะ​จาย (Muijs. 2011: 96)
       1. 	 เมื่อ​ตัวแปร​มี​การ​วัด​ใน​ระดับ​นาม​บัญญัติ (nominal variable) เรา​จะ​ใช้​พิสัย​ใน​การ​วัด​การ
กร​ ะ​จาย ใช่​หรือไ​ม่
       ตอบ ไม่ เมื่อ​ตัวแปร​มี​การ​วัด​ใน​ระดับ​นาม​บัญญัติ การ​วัด​การก​ระ​จาย​จะ​ไม่มี​ความ​หมาย เมื่อ​เรา
​ไม่ส​ ามารถเ​รียงล​ ำ�ดับก​ ลุ่ม​ได้ การว​ ัดก​ ารก​ระจ​ ายร​ อบฐ​ านนิยม​ก็ไ​ม่มีค​ วามห​ มาย​เช่น​เดียวกัน

4. 	การ​วัด​การแ​ จกแจง​ของข​ ้อมลู

       การ​วัด​การ​แจกแจง​ของ​ข้อมูล เป็นการ​แสดง​ให้​เห็น​รูป​ทรง​หรือ​ลักษณะ​การ​แจกแจง​ของ​ข้อมูล
นักว​ ิจัยต​ ้อง​ตรวจส​ อบล​ ักษณะก​ ารแ​ จกแจงข​ องข​ ้อมูล​ว่าเ​ป็นไ​ปต​ ามข​ ้อต​ กลงเ​บื้อง​ต้นข​ อง​สถิติ​ที่จ​ ะว​ ิเคราะห​์
หรือ​ไม่ เช่น สถิติ​วิเคราะห์​ที (t-test) มี​ข้อ​ตกลง​เบื้อง​ต้น​ว่า​ข้อมูล​ต้อง​มี​การ​แจกแจง​แบบ​ปกติ (Normal
distribution) เพราะถ​ ้า​ข้อมูลไ​ม่ส​ อดคล้อง​กับข​ ้อ​ตกลง​เบื้องต​ ้นจ​ ะ​มีผ​ ล​ทำ�ให้ผ​ ลก​ าร​วิเคราะห์เ​บี่ยงเ​บนแ​ ละ​
ลำ�เอียง (bias) ได้ โดย​ทั่วไปส​ ถิติว​ ิเคราะห์​เกือบ​ทุกช​ นิด​ที่​เป็นส​ ถิติข​ ั้นส​ ูงม​ ีข​ ้อต​ กลง​เบื้องต​ ้น​ว่าการ​แจกแจง​
ของ​ข้อมูล​ต้อง​เป็นการ​แจกแจง​แบบ​ปกติ ซึ่ง​มี​ลักษณะ​การ​แจกแจง​เป็น​แบบ​สมมาตร มี​ยอด​เดียว เป็น​รูป​
ระฆัง​ควํ่า (bell shaped)

       การ​ตรวจ​สอบ​การ​แจกแจง​ของ​ข้อมูล​อาจ​ใช้​การ​แจกแจง​ความถี่ แผน​ภู​มิฮีส​โท​แก​รม ค่า​เฉลี่ย
มัธยฐาน ฐานนิยม ส่วนเ​บี่ยง​เบนม​ าตรฐาน ความเ​บ้ ความโ​ด่ง โดยเ​ฉพาะ​การ​ใช้​ความ​เบ้​และ​ความโ​ด่งเ​พื่อ​
ตรวจ​สอบว​ ่า​ข้อมูล​แจกแจงแ​ บบป​ กติห​ รือไ​ม่
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45