Page 42 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 42

11-32 การวิจัยการบริหารการศึกษา

ค่าส​ ัมประสิทธิ์​ความเ​บ้ค​ ำ�นวณจ​ าก​สูตร

                                              S (X — X)4

                                 Sk 	= 		        N
                                              S(X — X)2 4

ข้อ​สงั เกต                                   N

การ​ที่​ข้อมูล​ไม่​เป็น​ไป​ตาม​ข้อ​ตกลง​เบื้อง​ต้น​ของ​การ​แจกแจง​แบบ​ปกติ​จะ​มี​ผลก​ระ​ทบ​อย่าง​รุนแรง​

ต่อ​ผล​การ​วิเคราะห์​เมื่อ​กลุ่ม​ตัวอย่าง​มี​ขนาด​เล็ก (กลุ่ม​ตัวอย่าง​น้อย​กว่า 50) แต่​จะ​มี​ผลก​ระ​ทบ​ลด​ลง​เมื่อ​

กลุ่ม​ตัวอย่างม​ ี​ขนาดต​ ั้งแต่ 200 หรือม​ ากกว่า (Hair & Others. 2006: 86)

เรอื่ ง​ที่ 11.1.3	 สถติ ท​ิ ่ีใ​ช​ใ้ น​การ​ทดสอบ​ความแ​ ตกต​ ่าง

       การ​ทดสอบ​ความ​แตก​ต่าง​ของ​ข้อมูล​ที่​จะ​ได้​ศึกษา​ต่อ​ไป​นี้​จะ​นำ�​เสนอ​ใน​ประเด็น​ของ​การ​ทดสอบ​
ความ​แตก​ต่างข​ องค​ ่า​เฉลี่ยท​ ี่​ใช้ก​ าร​ทดสอบ​อิง​พารามิเตอร์ และ​การท​ ดสอบท​ ี่ไ​ม่​อิง​พารามิเตอร์ โดย​นำ�​เสนอ​
ตามจ​ ำ�นวน​กลุ่ม​ตัวอย่าง ดังนี้

1. 	การ​ทดสอบ​ความแ​ ตกต​ ่าง​ของ​ค่า​เฉลย่ี ​กรณีก​ ลุ่มต​ ัวอยา่ งก​ ลุม่ เ​ดยี ว

       การท​ ดสอบค​ วามแ​ ตกต​ ่างข​ องค​ ่าเ​ฉลี่ยก​ รณกี​ ลุ่มต​ ัวอย่างก​ ลุ่มเ​ดียว มลี​ ักษณะค​ ำ�ถามว​ ิจัย หลักแ​ ละ​
วิธี​การ​วิเคราะห์ และ​การนำ�​เสนอ​ผลก​ ารว​ ิเคราะห์​ดังนี้

       1.1	 ลกั ษณะ​ค�ำ ถามว​ จิ ยั การว​ ิจัยท​ ี่​มีว​ ัตถุประสงค์เ​พื่อท​ ดสอบค​ วามแ​ ตก​ต่าง​ของค​ ่า​เฉลี่ยก​ รณี​กลุ่ม​
ตัวอย่างก​ ลุ่มเ​ดียวม​ ักม​ คี​ ำ�ถามว​ ิจัยว​ ่า “ค่าเ​ฉลี่ยท​ ีไ่​ดจ้​ ากก​ ลุ่มต​ ัวอย่างส​ ูงก​ ว่าห​ รือต​ ํ่าก​ ว่าเ​กณฑม์​ าตรฐานอ​ ย่าง​
มีน​ ัยส​ ำ�คัญห​ รือไ​ม่” เช่น ในก​ ารจ​ ัดฝ​ ึกอ​ บรมผ​ ู้จ​ ัดการฝ​ ึกอ​ บรมม​ ักต​ ั้งเ​กณฑ์ค​ วามส​ ำ�เร็จด​ ้านค​ วามพ​ ึงพ​ อใจว​ ่า​
ผู้​เข้าร​ ับ​การฝ​ ึกอ​ บรมต​ ้องม​ ีค​ ่า​เฉลี่ยค​ วาม​พึงพ​ อใจไ​ม่​ตํ่า​กว่า 3.5

       1.2	 หลัก​และ​วิธี​การ​วิเคราะห์ สถิติ​ที่​ใช้​ทดสอบ​ความ​แตก​ต่าง​ของ​ค่า​เฉลี่ย​กรณี​กลุ่ม​ตัวอย่าง​กลุ่ม​
เดียว คือส​ ถิติ​ทดสอบ z-test และ t-test สถิติ​ทดสอบ z-test ใช้ใ​นก​ รณี​ที่​มี​กลุ่ม​ตัวอย่างข​ นาด​ใหญ่ และร​ ู้​
ค่าค​ วาม​แปรปรวนข​ อง​ประชากร ส่วน​สถิติ​ทดสอบ t-test ใช้​ใน​กรณีท​ ี่ม​ ี​กลุ่มต​ ัวอย่างข​ นาดเ​ล็ก (n<30) และ​
ไม่รู้ค​ ่าค​ วามแ​ ปรปรวนข​ องป​ ระชากร ในท​ างป​ ฏิบัติน​ ัก​วิจัย​ไม่รู้​ค่า​ความแ​ ปรปรวนข​ อง​ประชากร​จึงไ​ม่ค​ ่อยใ​ช้
z-test ในโ​ปรแกรมส​ ำ�เร็จรูป SPSS ไม่มีค​ ำ�​สั่งส​ ำ�หรับว​ ิเคราะห์ z-test เนื่องจาก​เมื่อก​ ลุ่มต​ ัวอย่างม​ ขี​ นาดใ​หญ่
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47