Page 16 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 16

6-6 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

       จาก​ความ​หมาย​พุทธิ​พิสัย​ของ​นัก​วิชาการ​ทางการ​ศึกษา​ที่​ให้​ความ​หมาย​นั้น สามารถ​นำ�​มา​สรุป​ได้​
ว่า พุทธิ​พิสัย เป็นค​ วาม​สามารถด​ ้าน​การเ​รียน​รู้เ​นื้อหาว​ ิชาต​ ่างๆ ที่เ​กี่ยวก​ ับค​ วามส​ ามารถ​ทางส​ ติป​ ัญญา​หรือ​
เกี่ยวข้องก​ ับค​ วาม​คิด โดย​จำ�แนกพ​ ฤติกรรมจ​ ากพ​ ฤติกรรม​ง่าย​ไปส​ ู่​พฤติกรรม​ที่​ซับซ​ ้อน

พฤตกิ รรมด​ า้ น​พุทธิพ​ สิ ัย

       พฤติกรรมด​ ้านพ​ ุทธพิ​ ิสัยเ​ป็นพ​ ฤติกรรมด​ ้านค​ วามส​ ามารถท​ างส​ ตปิ​ ัญญาข​ องบ​ ุคคล พฤติกรรมด​ ้าน​
พุทธพิ​ ิสัยท​ ีใ่​ชก้​ ันอ​ ย่างก​ ว้างข​ วางใ​นก​ ารศ​ ึกษาเ​สน​ อโ​ดยบ​ ลูม (Bloom, 1954) ซึ่งจ​ ำ�แนกค​ วามส​ ามารถท​ างด​ ้าน​
พุทธิ​พิสัย​ออกเ​ป็น 6 ระดับ ได้แก่ ความ​รู้​ความ​จำ� ความเ​ข้าใจ การนำ�​ไป​ใช้ การ​วิเคราะห์ การ​สังเคราะห์ และ​
การป​ ระเมิน​ค่า ลักษณะ​ความส​ ามารถท​ ั้ง 6 ระดับม​ ีล​ ักษณะ​เป็นกร​ ะบ​ วน​การ​ทางป​ ัญญาท​ ี่เ​ป็น​ลำ�ดับ​ขั้นแ​ ละ​
ค่อยๆ เพิ่ม​ความซ​ ับ​ซ้อนข​ ึ้นเ​รื่อยๆ จนก​ ระทั่งถ​ ึง​ขั้น​สุดท้าย

พฤตกิ รรม​ดา้ นพ​ ทุ ธิพ​ ิสยั ข​ อ​งบลมู

       พฤติกรรมด​ ้านพ​ ุทธิ​พิสัย​ขอ​งบลูม จำ�แนกอ​ อก​เป็น 6 ระดับ ดังนี้
       1. 	 ความร​ -ู้ ความจ​ �ำ (knowledge) หมายถ​ ึง ความส​ ามารถท​ างส​ มองข​ องผ​ ูเ้​รียนใ​นก​ ารร​ ับร​ ู้ (ฟัง/อ่าน)
รักษา​ความร​ ู้ (จำ�) และร​ ะลึก (ตอบ) ถึง​เรื่อง​ราว​ที่เ​คย​ได้​เรียนร​ ู้​แล้ว ซึ่ง​เป็นเ​รื่องร​ าว​ที่เ​ป็นป​ ระสบการณ์ท​ ี่เ​คย​
เรียนร​ ู้​ใน​ห้องเรียน เป็น​ความ​รู้​ที่ไ​ด้​จากก​ ารเ​รียนก​ ารส​ อนโ​ดยตรง เป็นค​ วาม​รู้ท​ ี่​ตรง​ตามค​ ำ�​บรรยาย เอกสาร
หรือ​ตำ�รา ทั้งนี้ ผู้​เรียน​ไม่​จำ�เป็น​ต้อง​นำ�​ความ​รู้​ที่​ได้​รับ​ไป​เรียบ​เรียง​ใหม่ ความ​รู้​ที่​จะ​ให้​บุคคล​แสดง​ความ​
สามารถใ​นก​ าร​จำ�​ได้
       ตัวอย่าง​ของ​ความร​ ู้–ความจ​ ำ� เช่น

            - 	 บอก​ความห​ มายข​ อง​การ​วิจัย​ทางการศ​ ึกษาไ​ด้
            - 	 บอกห​ ลักก​ าร​วัดแ​ ละ​ประเมินผ​ ลไ​ด้
            - 	 ระบุป​ ระเภทข​ องเ​ครื่องม​ ือว​ ิจัย​ได้
       2. 	 ความ​เขา้ ใจ (comprehension) หมาย​ถึง เป็น​ความ​สามารถ​ใน​การ​ใช้​กระบวนการ​ทาง​ความ​คิด​
ในก​ ารนำ�​ความร​ ู้ท​ ี่ไ​ด้ร​ ับม​ าจ​ ากป​ ระสบการณต์​ ่างๆ มาท​ ำ�ให้ม​ คี​ วามห​ มายข​ ึ้น โดยก​ ารอ​ ธิบายต​ ัวค​ วามร​ ูห้​ รือข​ ้อ​
เท็จจ​ ริงใ​นร​ ูปแ​ บบใ​หม่ท​ ี่ม​ ีเ​ค้าเ​หมือนเ​ดิม ตลอดจ​ นส​ ามารถจ​ ับเ​อาข​ ้อเ​ท็จจ​ ริงต​ ่างๆ มาส​ ัมพันธ์ก​ ันจ​ นส​ ามารถ​
กล่าว​ได้​เป็นอ​ ีก​แบบ​หนึ่ง จนถึง​ขยายค​ วามส​ ัมพันธ์น​ ั้นๆ ออก​ไปใ​ห้ก​ ว้าง​ไกลจ​ าก​ข้อ​เท็จ​จริง
       ตัวอย่างข​ องค​ วามเ​ข้าใจ เช่น
            - 	 แปลค​ วามห​ มาย​ของ​กราฟ​เส้นไ​ด้
            - 	 อ่านเ​นื้อเ​รื่องแ​ ล้ว​สรุป​จุด​มุ่งห​ มายข​ อง​ผู้แ​ ต่ง​ได้
            - 	 คาดค​ ะเน​เรื่อง​ราว​ที่​เกิด​ขึ้นก​ ่อนเ​หตุการณ์​นี้ไ​ด้
       3. 	 การน�ำ ​ไป​ใช้ (application) หมาย​ถึง ความ​สามารถ​ใน​การนำ�​ความ​รู้ ความเ​ข้าใจ​ในเ​รื่องท​ ี่​เรียน​รู้​
มาแ​ ล้วไปแ​ ก้ป​ ัญหาท​ ี่แ​ ปลกใ​หม่ หรือส​ ถานการณ์ท​ ี่ไ​ม่เ​คยพ​ บเห็นม​ าก​ ่อน แต่อ​ าจใ​กล้เ​คียงห​ รือค​ ล้ายคลึงก​ ัน
ความส​ ามารถใ​นก​ ารนำ�​ไปใ​ช้ ได้แก่ การก​ ำ�หนดส​ ถานการณ์​ที่ส​ ามารถน​ ำ�​หลักก​ าร กฎเ​กณฑ์ท​ ี่เ​คยเ​รียนร​ ู้ไ​ปใ​ช้
หรือ​การแ​ ก้ไขป​ ัญหา​ใหม่​โดย​อาศัยห​ ลัก​การท​ ี่​ได้​เรียน​รู้​มา​แล้ว
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21