Page 17 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 17
การส ร้างเครื่องมือว ัดด ้านพุทธิพ ิสัย 6-7
ตัวอย่างก ารนำ�ไปใช้ เช่น
- เมื่อกำ�หนดโจทย์ป ัญหาค ณิตศาสตร์ท ี่ไม่เคยเรียนม าก่อน สามารถแ ก้ปัญหาโจทย์ได้
- นำ�ความร ู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในช ีวิตประจำ�วันได้
- นำ�หลักก ารทางจ ิตวิทยาไปป รับใช้ในก ารดำ�รงชีวิตได้
4. การวิเคราะห์ (analysis) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะเรื่องราว เหตุการณ์ หรือ
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่าประกอบด้วยส่วนประกอบย่อยๆ อะไร เพื่อสามารถบ่งชี้ถึงความสำ�คัญของส่วน
ย่อยแ ละค วามส ัมพันธ์เชื่อมโยงก ันของส ่วนย่อยๆ นั้น
ตัวอย่างก ารวิเคราะห์ เช่น
- จำ�แนกข้อดีและข้อเสียข องข ้อสอบแ บบเลือกต อบแ ละเขียนตอบได้
- บอกค วามส ัมพันธ์ของต ัวแปรท ี่เกิดข ึ้นในการทดลองได้
- วิเคราะห์ป ัจจัยที่ส่งผ ลต ่อสัมประสิทธิ์ความเที่ยงได้
5. การส งั เคราะห์ (synthesis) หมายถ ึง ความส ามารถในก ารร วบรวมหรือผ สมผสานส่วนป ระกอบ
ย่อยท ั้งหลายให้เป็นส ่วนรวม ซึ่งเป็นองค์รวมใหม่ท ี่กลมกลืนอย่างมีค วามหมาย ที่ก่อให้เกิดผ ลลัพธ์ที่แ ปลก
ใหม่ มีคุณค่า และเป็นป ระโยชน์
ตัวอย่างก ารส ังเคราะห์ เช่น
- เขียนรายงานก ารวิจัยได้
- เขียนโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
- ออกแบบต ารางข้อมูลท ี่กำ�หนดให้ได้อ ย่างเหมาะสม
6. การประเมินคา่ (evaluation) หมายถึง ความสามารถในการตีค ่า หรือตัดสินคุณค่าของส ิ่งต่างๆ
ตามเกณฑ์ห รือม าตรฐานที่ก ำ�หนดไว้
ตัวอย่างก ารป ระเมินค ่า เช่น
- ตัดสินพฤติกรรมของผู้เรียนโดยอ าศัยระเบียบของโรงเรียน
- ประเมินผ ลง านว ิจัยต ามเกณฑ์ข อง สกว. ได้
- การตัดสินคุณค่าของเรื่องสั้นตามส ภาพสังคมปัจจุบันว่าเหมาะส มห รือไม่
พฤติกรรมด ้านพุทธิพิสัยข องบลูมได้ร ับการย อมรับแ ละนำ�มาป ระยุกต์ใช้กันอ ย่างแพร่หลายในท ุก
ระดับของระบบการศึกษา แต่อย่างไรก็ตาม ได้มีผู้ที่เกี่ยวข้องทางการศึกษาได้นำ�พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ของบลูมไปใช้แ ละได้พ บข ้อจำ�กัดหลายป ระการ เช่น พฤติกรรมด ้านพุทธิพิสัยของบลูมเป็นกระบวนการทาง
ปัญญาท ีเ่รียงต ามล ำ�ดับ 6 ขั้น ทำ�ใหเ้กิดค วามเข้าใจว ่าข ั้นต อนด ังก ล่าวไมส่ ามารถท ับซ ้อนห รือเหลื่อมล ํ้ากันได้
และก ารท ี่ผ ู้เรียนจ ะส ามารถบ รรลุพ ฤติกรรมร ะดับส ูงได้จ ะต ้องบ รรลุพ ฤติกรรมร ะดับต ํ่าก ว่า หรือจ ากก ารนำ�
พฤติกรรมด้านพ ุทธิพ ิสัยของ บลูมไปใช้แล้ว พบว่าพ ฤติกรรมระดับค วามรู้-ความจำ�มีค วามซ ับซ้อนม ากกว่า
สิ่งที่ต้องการวัดในพฤติกรรมระดับการวิเคราะห์หรือประเมินค่า พฤติกรรมระดับประเมินค่าไม่ได้มีความ
ซับซ้อนก ว่าระดับการส ังเคราะห์ หรือบ างค รั้งก ารส ังเคราะห์มีความเกี่ยวเนื่องกับการประเมินค่าด้วย