Page 22 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 22

6-12 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

ตอบม​ ี 2 ชนิด คือ 1) แบบ​ตอบส​ ั้น ลักษณะแ​ บบต​ อบส​ ั้น​ต้องการ​ให้​ผู้​ตอบ​สร้าง​คำ�​ตอบเ​อง โดย​ตอบ​เป็น คำ�
วลี จำ�นวนเ​ลข หรอื ส​ ัญลักษณ์ และ 2) แบบ​ความเ​รียง ลกั ษณะแ​ บบค​ วามเ​รยี งต​ ้องการใ​หผ​้ ูต้​ อบส​ รา้ งค​ ำ�​ตอบ​
ด้วยต​ นเองจ​ ากป​ ัญหาท​ ี่ถ​ าม

            2.2 	แบบ​เลือก​ตอบ เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​ให้​ผู้​ตอบ​เลือก​ตอบ​จาก​คำ�​ตอบ​ที่​กำ�หนด​ให้ โดย​ทั่วไป
แบบ​เลือก​ตอบม​ ี 3 รูปแ​ บบ คือ 1) แบบถ​ ูกผ​ ิด 2) แบบ​จับ​คู่ และ 3) แบบ​เลือกต​ อบ

       3. 	 จ�ำ แนก​ตามก​ าร​แปลผ​ ล แบ่งเ​ป็น 2 ประเภท ดังนี้
            3.1 	อิง​เกณฑ์ (criterion referenced) เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​มุ่ง​วัด​ระดับ​การ​เรียน​รู้​ของ​ผู้​เรียน​ว่า​มี​

ความร​ ู้ ความ​สามารถ​อะไรบ​ ้าง ตาม​วัตถุประสงค์​ที่ไ​ด้ก​ ำ�หนดไ​ว้ การ​ประเมินจ​ ะน​ ำ�​ผลส​ อบไ​ปเ​ทียบก​ ับเ​กณฑ​์
ทีก่​ �ำ หนดไ​วล​้ ่วงห​ นา้ เครือ่ งม​ ือน​ จี​้ ะถ​ ูกส​ ร้างใ​หค​้ รอบคลมุ ค​ วามร​ ูแ้​ ละเ​นือ้ หาข​ องก​ ารเ​รยี นร​ ทู​้ ีต่​ อ้ งการใ​หเ้​กิดข​ ึน้
จงึ ม​ คี​ วามย​ ากง​ า่ ยเ​หมาะส​ มก​ ับร​ ะดบั ช​ ั้น คะแนนส​ อบท​ ีไ่​ดจ้​ งึ แ​ ปลผ​ ลโ​ดยเ​ปรยี บเ​ทยี บก​ ับเ​กณฑท์​ ีก่​ �ำ หนดไ​วไ้​ม​่
ต้องการ​ไป​เปรียบ​เทียบ​กับผ​ ู้อ​ ื่น

            3.2 	อิง​กลุ่ม (norm referenced) เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​มุ่ง​วัดผล​การ​เปรียบ​เทียบ​ความ​แตก​ต่าง​
ระหวา่ งค​ วามร​ แู​้ ละค​ วามส​ ามารถข​ องผ​ เู​้ รยี น จงึ น​ �ำ ​ผลก​ ารส​ อบไ​ปเ​ปรยี บเ​ทยี บก​ บั บ​ คุ คลอ​ ืน่ ใ​นก​ ลุม่ ท​ ใี​่ ชข​้ อ้ สอบ​
เดียวกันว่าใ​คร​มี​ความ​สามารถ​เหนือ​ใคร​เพียง​ใด เครื่อง​มือ​นี้​จึง​ถูก​สร้าง​มา​เพื่อ​ทำ�​หน้าที่​จำ�แนก​ระดับ​ความ​
สามารถข​ องผ​ ู้ส​ อบท​ ี่แ​ ตกต​ ่างก​ ัน จึงม​ ีค​ วามย​ ากง​ ่ายโ​ดยเ​ฉลี่ยป​ านก​ ลาง โดยม​ ีท​ ั้งข​ ้อท​ ี่ค​ ่อนข​ ้างย​ าก ปานก​ ลาง
และค​ อ่ นข​ า้ งง​ า่ ย อ�ำ นาจจ​ �ำ แนกข​ อ้ สอบค​ อ่ นข​ า้ งส​ งู คะแนนส​ อบท​ ไี​่ ดจ​้ งึ น​ �ำ ​ไปใ​ชแ​้ ปลค​ วามห​ มายโ​ดยก​ ารเ​ปรยี บ​
เทียบค​ วามร​ ู้ ความ​สามารถร​ ะหว่างก​ ลุ่มผ​ ู้​สอบด​ ้วย​กันเอง เพื่อ​สามารถ​ตัดสินไ​ด้ว​ ่าใ​คร​เก่ง​กว่า​กัน

       4. 	 จ�ำ แนกต​ ามเ​วลา​ท​่กี ำ�หนด​ให้​ตอบ แบ่งเ​ป็น 2 ประเภท ดังนี้
            4.1 	วัด​ความเร็ว เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​มุ่ง​วัด​ทักษะ ความ​คล่องแคล่ว​ใน​การ​คิด ความ​แม่นยำ�​ใน​

ความร​ ู้​เป็น​สำ�คัญ เครื่อง​มือ​ประเภทน​ ี้​มักม​ ีล​ ักษณะ​ค่อนข​ ้าง​ง่าย แต่ม​ ี​จำ�นวนข​ ้อค​ ่อน​ข้างม​ าก และ​ให้​เวลาท​ ำ�​
ข้อสอบ​น้อย ผู้​สอบต​ ้อง​แข่งขัน​กัน​ตอบ ใคร​ทำ�​เสร็จก​ ่อน​และ​ถูกต​ ้องม​ ากท​ ี่สุดถ​ ือว่า​มี​ประสิทธิภาพ​สูง​กว่า

            4.2 	วดั ป​ ระสทิ ธภิ าพ​สงู สดุ เครื่องม​ ือป​ ระเภทน​ ี้ม​ ักม​ ีล​ ักษณะ​ค่อนข​ ้างย​ ากแ​ ละใ​ห้เ​วลา​ทำ�​มาก
ผู้​สอบม​ ี​เวลาเ​พียงพ​ อใ​นก​ าร​ตอบ แต่อ​ าจท​ ำ�​ไม่​ได้เ​พราะ​ไม่มี​ความ​รู้ ความส​ ามารถท​ ี่จ​ ะต​ อบ

       5. 	 จ�ำ แนก​ตาม​ผส​ู้ ร้าง แบ่งเ​ป็น 2 ประเภท ดังนี้
            5.1 	ครู​สร้าง​ขึ้น​เอง (teacher-made) เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​ครู​ผู้​สอน​เป็น​คน​สร้าง​ขึ้น​มา​ใช้​เอง เพื่อ​

ใช้​ทดสอบ​ผล​สัมฤทธิ์​และ​ความ​สามารถ​ทาง​วิชาการ​ของ​ผู้​เรียน เครื่อง​มือ​ประเภท​นี้​มัก​เป็น​แบบ​ทดสอบ​ที่​
ครอบคลุมเ​นื้อหาเ​ฉพาะต​ ามห​ ลักสูตรท​ ีส่​ อน การต​ รวจใ​หค้​ ะแนนแ​ ละก​ ารแ​ ปลผ​ ลค​ ะแนนม​ ักจ​ ะเ​ทียบก​ ับก​ ลุ่ม​
ที่​สอบด​ ้วย​กัน หรือเ​ทียบก​ ับเ​กณฑ์​ที่ผ​ ู้ส​ อนเ​ป็นผ​ ู้​กำ�หนด

            5.2 	เคร่ือง​มือ​ที่​เป็น​มาตรฐาน (standardized) เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​สร้าง​ขึ้น​ด้วย​กระบวนการ​
มาตรฐาน เมื่อ​สร้าง​ขึ้น​แล้ว​มี​การนำ�​ไป​ทดลอง​สอบ แล้ว​นำ�​ผล​มา​วิเคราะห์​ด้วย​วิธี​การ​ทาง​สถิติ​หลาย​ครั้ง​
หลาย​หน​เพื่อ​ปรับปรุง​ให้​มี​คุณภาพ​ดี มี​ความ​เป็น​มาตรฐาน สามารถ​นำ�​ไป​ใช้​วัด​ได้​กว้าง​ขวาง​กว่า​แบบ​แรก
เครื่อง​มือ​ที่​เป็น​มาตรฐาน​ต้อง​มี​ความ​เป็น​มาตรฐาน 2 อย่าง คือ 1) มาตรฐาน​ใน​การ​ดำ�เนิน​การ​สอบ และ​
มาตรฐาน​ใน​การ​แปลค​ วาม​หมายค​ ะแนน
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27