Page 20 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 20

6-10 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

ตาราง​ท่ี 6.1 ความ​แตก​ตา่ งร​ ะหวา่ งพ​ ฤตกิ รรมด​ า้ นพ​ ทุ ธิ​พสิ ัยต​ ามแ​ นวคดิ เ​ดมิ ก​ บั ​แนวคิด​ใหม่

            ประเดน็                                        แนวคดิ เดิม                            แนวคดิ ใหม่
1. 	ค�ำ ทีใ่ ชใ้ น 6 ระดบั มกี ารเปลีย่ นแปลง  จำ�แนกเป็น 6 ระดับ คือ                 จำ�แนกเป็น 6 ระดับ คือ
                                                1. 	ความรู้                            1. 	จำ�
   ดังนี้                                       2. 	ความเข้าใจ                         2. 	เข้าใจ
	 - 	 แนวคิดเดิมใช้คำ�นาม                       3. 	การนำ�ไปใช้                        3. 	ประยุกต์ใช้
	 - 	 แนวคิดใหม่ใช้คำ�กริยา                     4. 	การวิเคราะห์                       4. 	วิเคราะห์
                                                5. 	การสังเคราะห์                      5. 	ประเมินค่า
2. 	ขั้นที่ 1 ความรู้ ความจำ�                   6. 	การประเมินค่า                      6. 	สร้างสรรค์
	 มีการเปลี่ยนแปลงคำ�ที่ใช้                     ความรู้ (knowledge)                    จำ� (remember)
3. 	ขั้นที่ 2 ความเข้าใจ
	 (comprehension) และขั้นที่ 5                  มีขั้นความเข้าใจ (comprehension)       มีขั้นเข้าใจ (understand)
	 การสังเคราะห์ (synthesis)                     และการสังเคราะห์ (synthesis)           และสร้างสรรค์ (create)
	 มีการเปลี่ยนแปลง
4.	 ขั้นการสังเคราะห์ (synthesis)               ขั้นที่ 5 การสังเคราะห์                ขั้นที่ 5 ประเมินค่า
	 และขัน้ การประเมนิ คา่ (Evaluation)           ขั้นที่ 6 การประเมินค่า                ขั้นที่ 6 สร้างสรรค์ (การสังเคราะห์)
	 มีการสลับกัน
5. 	รูปแบบการวัดพฤติกรรม                        วัด 1 มิติ คือ มิติด้านพฤติกรรมการวัด  วัด 2 มิติ คือ
	 ด้านพุทธิพิสัย                                6 ระดับ                                1. 	มิติด้านพฤติกรรมการวัด 6 ระดับ
                                                                                       2.	 มิติด้านความรู้ที่หลากหลาย
                                                                                       	 ประกอบด้วย
                                                                                       	 1)	ความรใู้ นดา้ นขอ้ เทจ็ จรงิ (factual)
                                                                                       	 2)	ความคิดรวบยอด (conceptual)
                                                                                       	 3)	กระบวนการ (procedural) และ
                                                                                       	 4)	อภิปัญญา (meta-cognitive)

       พฤติกรรม​ด้าน​พุทธิ​พิสัย​ขอ​งบลูม​ทั้ง​แนวคิด​เดิม​และ​แนวคิด​ใหม่​ที่​นำ�​เสนอ​ข้าง​ต้น เป็น​แนวคิด​ที่​
นำ�​เสนอเพื่อ​ให้​นักศึกษา​ได้​เรียน​รู้​และ​นำ�​พฤติกรรม​ด้าน​พุทธิ​พิสัย​ไป​ใช้​ใน​สร้าง​ข้อสอบ เพื่อ​ให้​ได้​ข้อสอบ​
ที่​มี​คุณภาพ อย่างไร​ก็ตาม แม้​จะ​มี​แนวคิด​ใหม่​เกี่ยว​กับ​พฤติกรรม​ด้าน​พุทธิ​พิสัย​ของบลู​มนำ�​เสนอ​ตั้งแต่​ปี
ค.ศ. 2001 แตป่​ ัจจุบันก​ ็ย​ ังค​ งน​ ิยมส​ ร้างข​ ้อสอบโ​ดยย​ ึดพ​ ฤติกรรมด​ ้านพ​ ุทธพิ​ ิสัยข​ องบลูมต​ ามแ​ นวคิดเ​ดิมอ​ ยู​่
ค่อน​ข้าง​มาก ทั้งนี้ อาจจ​ ะเ​นื่องจาก​เป็น​ความ​คุ้นเ​คย​ของผ​ ู้​ออก​ข้อสอบห​ รือ​เนื่องจากแ​ นวคิดใ​หม่เ​ป็นการ​วัด
2 มิติ ที่ผ​ ู้​สร้าง​ข้อสอบต​ ้อง​วิเคราะห์ใ​ห้​ได้ว​ ่าข​ ้อสอบแ​ ต่ละข​ ้อ​สร้างโ​ดยม​ ี​ระดับ​พฤติกรรม​ด้านใ​ดใ​น 6 ระดับ
และ​มี​มิติ​ความ​รู้​ที่​หลาก​หลาย​ใน 4 องค์​ประกอบ​ข้อ​ใด ซึ่ง​ต้อง​ใช้​ความ​รู้ ความ​สามารถ​ใน​การ​วิเคราะห์​ใน​
ส่วนน​ ี้ค​ ่อน​ข้าง​มาก จึง​ทำ�ให้​แนวคิด​ใหม่​ยัง​ไม่​เป็นท​ ี่น​ ิยม​มากน​ ัก​ใน​ปัจจุบัน

หลังจ​ าก​ศึกษา​เนื้อหาส​ าระ​เรื่อง​ที่ 6.1.1 แล้ว โปรด​ปฏิบัติ​กิจกรรม 6.1.1
        ในแ​ นว​การ​ศึกษา​หน่วย​ที่ 6 ตอนท​ ี่ 6.1 เรื่องท​ ี่ 6.1.1
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25