Page 24 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 24

6-14 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

เรอื่ ง​ท่ี 6.1.3 	หลัก​การ​สรา้ ง​เครอื่ ง​มือ​วัด​ด้าน​พุทธิพ​ สิ ัย

       การส​ รา้ งเ​ครือ่ งม​ อื ว​ ดั ด​ า้ นพ​ ทุ ธพ​ิ สิ ยั ใ​หไ​้ ดเ​้ ครือ่ งม​ อื ว​ ดั ท​ มี​่ ค​ี ณุ ภาพ เปน็ ส​ ิง่ ส​ �ำ คญั ย​ ิง่ ใ​นก​ ารป​ ระเมนิ ผ​ ล​
การเ​รยี นร​ ขู​้ องผ​ เู​้ รยี น กอ่ นท​ ผี​่ สู​้ รา้ งจ​ ะส​ รา้ งเ​ครือ่ งม​ อื ว​ ดั ดา้ นพ​ ทุ ธพ​ิ สิ ยั ผสู​้ รา้ งค​ วรค​ �ำ นงึ ถ​ งึ ส​ ิง่ ส​ �ำ คญั 2 ประการ
คือ ลักษณะท​ ี่​ดี​ของ​เครื่อง​มือว​ ัด และห​ ลัก​การ​สร้างเ​ครื่อง​มือว​ ัด​ด้านพ​ ุทธิ​พิสัย ดัง​รายล​ ะเอียด​ต่อ​ไปน​ ี้

       1. 	 ลักษณะท​ ด​ี่ ีข​ องเ​คร่อื งม​ อื ​วัดด​ ้านพ​ ทุ ธิ​พิสยั ประกอบด​ ้วย
            1.1 	ความ​ตรง เครื่องม​ ือท​ ี่​มี​ความต​ รง หมาย​ถึง เครื่องม​ ือท​ ี่ส​ ามารถ​วัด​ได้ส​ ิ่งท​ ี่​ต้องการ​จะว​ ัด

ความต​ รง​จึงเ​ป็นค​ ุณสมบัติท​ ี่​สำ�คัญ​ของเ​ครื่องม​ ือว​ ัดผล ความต​ รงส​ ามารถแ​ บ่ง​เป็น 3 ประเภท คือ 1) ความ​
ตรงต​ ามเ​นื้อหา (content validity) 2) ความต​ รง​ตามโ​ครงสร้าง (construct validity) หรือเ​รียกว​ ่าค​ วาม​
ตรง​ตามท​ ฤษฎี และ 3) ความต​ รง​เชิง​เกณฑ์​สัมพันธ์ (criterion related validity)

            1.2		ความ​เทยี่ ง เครื่องม​ ือ​ที่​มีค​ วามเ​ที่ยง หมายถ​ ึง เครื่อง​มือ​ที่ม​ ี​ความ​คงเ​ส้น​คงว​ า​หรือ​ความ​
คงที่ข​ องผ​ ลก​ ารว​ ัด นั่นค​ ือ เมื่อน​ ำ�​เครื่องม​ ือใ​ดๆ ไปว​ ัดแ​ ล้ว ผลท​ ี่ไ​ด้จ​ ากก​ ารว​ ัดค​ วรจ​ ะเ​หมือนเ​ดิม ความเ​ที่ยง​
สามารถ​แบ่ง​ได้เ​ป็น 4 ประเภท คือ 1) ความเ​ที่ยงแ​ บบค​ วามค​ งที่ 2) ความ​เที่ยงแ​ บบค​ วามส​ มมูล 3) ความ​
เที่ยงแ​ บบค​ วาม​คงที่แ​ ละ​สมมูล และ 4) ความเ​ที่ยง​แบบค​ วาม​สอดคล้อง​ภายใน

            1.3 	ความเ​ปน็ ป​ รนยั เครื่องม​ ือท​ ี่ม​ คี​ วามเ​ป็นป​ รนัย หมาย​ถึง เครื่องม​ ือท​ ีม่​ คี​ วามช​ ัดเจน ผู้ถ​ าม​
และ​ผู้​ตอบ​จะ​ต้อง​เข้าใจ​ความ​หมาย​ของ​ข้อ​คำ�ถาม​ตรง​กัน ผู้​ตอบ​แต่ละ​คน​จะ​ต้อง​เข้าใจ​ข้อ​คำ�ถาม​ที่​ถูก​ถาม​
ตรงก​ ันว​ ่าถ​ ามอ​ ะไร รวม​ทั้งค​ วามช​ ัดเจนใ​นเ​รื่องก​ ารต​ รวจใ​หค้​ ะแนนแ​ ละก​ ารแ​ ปลผ​ ลข​ องค​ ะแนน ถ้า​เครื่องม​ ือ
​มี​ความ​เป็น​ปรนัย​สูง​แล้ว ไม่​ว่า​ใคร​ก็ตาม​ที่มา​อ่าน​คำ�​ชี้แจง​ก็​จะ​เข้าใจ​ตรง​กัน มา​ตรวจ​ให้​คะแนนก​ ็​ให้​เท่า​กัน
หรือ​มา​แปล​ผล​ของค​ ะแนน​ก็จ​ ะ​แปล​ผลไ​ด้​เหมือน​กัน

            1.4 	ความ​ยาก เครื่อง​มือ​ที่​จะ​หา​คุณภาพ​ด้าน​ความ​ยาก​ส่วน​ใหญ่​เป็น​แบบ​ทดสอบ ซึ่ง​แบบ​
ทดสอบ​ที่​ดี​ควร​มี​ความ​ยาก-ง่าย​พอ​เหมาะ​หรือ​มี​ความ​ยาก-ง่าย​ปาน​กลาง เนื่องจาก​ถ้า​ข้อสอบ​ยาก​หรือ​ง่าย​
เกิน​ไป​ก็​ไม่​สามารถ​เร้า​ให้​ผู้​เรียน​แสดง​พฤติกรรม​ที่​ต้องการ​วัด​ออก​มา​ได้ กล่าว​คือ ถ้า​ข้อสอบ​ยาก​เกิน​ไป​ก็​
ไม่มีผ​ ู้เ​ข้าส​ อบ​คน​ใดท​ ำ�ได้ ในท​ าง​ตรงข​ ้าม ถ้า​ข้อสอบง​ ่าย​เกินไ​ปผ​ ู้​เข้าส​ อบ​ทำ�ได้​ทุก​คน

            1.5 	อ�ำ นาจจ​ ำ�แนก เครื่องม​ ือท​ ี่ด​ ีค​ วรจ​ ะส​ ามารถจ​ ำ�แนกผ​ ู้​เรียนอ​ อกไ​ด้เ​ป็นกล​ ุ่มเ​ก่ง-กลุ่มอ​ ่อน​
ได้ หรือ​กลุ่มผ​ ู้​รอบรู้-กลุ่มผ​ ู้ไ​ม่​รอบรู้​ได้ กล่าว​คือ คน​เก่ง​หรือ​คนท​ ี่ร​ อบรู้จ​ ะต​ อบ​คำ�ถามถ​ ูก คนไ​ม่​เก่งห​ รือค​ น​
ที่​ไม่​รอบรู้​จะ​ตอบ​คำ�ถาม​ผิด หรือ​จำ�แนก​ผู้​ที่​มี​ความ​สนใจ​ออก​จาก​ผู้​ที่​ไม่มี​ความ​สนใจ หรือ​ผู้​ที่​มี​ความ​ถนัด​
ออก​จากผ​ ู้​ที่​ไม่มี​ความถ​ นัดไ​ด้

            1.6 	ม​ีความ​ยว่ั ​ยุ เครื่อง​มือ​ที่​ดี​ต้อง​เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​ยั่ว​ยุ เร้าใจ ให้​ผู้​สอบ​ต้องการ​ตอบ ถ้า​เป็น​
แบบ​ทดสอบ​แบบ​เลือก​ตอบ​ควร​เรียง​ข้อสอบ​จาก​ข้อ​ที่​ง่าย​ไป​หา​ข้อ​ที่​ยาก ข้อ​คำ�ถาม​กะทัดรัด​วัด​ได้ใจ​ความ
และม​ ีข​ ้อ​คำ�ถามไ​ม่​มาก​จน​เกิน​ไป
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29