Page 18 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 18
6-8 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา
จากข้อค้นเกี่ยวกับปัญหาที่พบในการใช้พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยของบลูมในแบบเดิม จึงได้มีการ
รวบรวมนักจิตวิทยา นักทฤษฎีห ลักสูตร นักว ิจัยทางด้านการเรียนการสอน และผู้เชี่ยวชาญทางด ้านว ัดแ ละ
ประเมินผล เพื่อป รับปรุงพฤติกรรมด ้านพุทธิพ ิสัยของบลูม ในป ี ค.ศ. 2001 (Anderson and Krathwohl,
2001) โดยจำ�แนกความสามารถด้านพุทธิพิสัยออกเป็น 6 ระดับเหมือนเดิม แต่ปรับปรุงคำ�ศัพท์ที่ใช้ใหม่
ได้แก่ จำ� เข้าใจ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมินค ่า และส ร้างสรรค์ นอกจากนั้นได้ม ีก ารเปลี่ยนแปลงในส ่วน
ของโครงสร้างเป็นการว ัดพ ฤติกรรม 2 มิติ พร้อมท ั้งม ีก ารเพิ่มในส ่วนข องผ ลผลิตข องก ารค ิด ซึ่งเป็นร ูปแ บบ
ของความรู้ที่หลากหลาย ประกอบด้วย ความรู้ในด้านข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอด กระบวนการ และ
อภิปัญญา ดังรายละเอียดต ่อไปน ี้
พฤตกิ รรมดา้ นพทุ ธิพิสัยข อง บลูมทปี่ รับใหม่
1. จ�ำ (remember) หมายถึง ความส ามารถในก ารระลึกเรื่องราวต ่างๆ ที่ได้เรียนรู้มาแล้วได้ แสดง
รายการได้ บอกได้ ระบุได้ คำ�กริยาท ี่น ำ�มาใช้ในการวัดร ะดับจ ำ� เช่น ระบุ ระลึก นิยาม รายล ะเอียด บอกชื่อ
ฯลฯ
ตัวอย่างข องระดับจ ำ� เช่น
- บอกความหมายก ารประเมินได้
- ระบุขั้นต อนการสร้างข้อสอบได้
- บอกช ื่อผู้ที่คิดท ฤษฎีการตอนส นองข้อสอบได้
2. เขา้ ใจ (understand) หมายถ ึง ความส ามารถในก ารเข้าใจค วามห มายข องเรื่องร าวต ่างๆ โดยก าร
แปลค วามห มาย ยกต ัวอย่าง สรุปอ ้างอิง คำ�กริยาท ีน่ ำ�มาใชใ้นก ารว ัดร ะดับเข้าใจ เช่น อธิบาย แปลค วามห มาย
สรุป ถอดความ แสดงต ัวอย่าง จัดกลุ่ม จัดหมวดห มู่ ย่อค วาม ฯลฯ
ตัวอย่างของร ะดับเข้าใจ เช่น
- เขียนสรุปเหตุการณ์ท ี่เกิดขึ้นได้
- อธิบายการห าความเที่ยงแบบสมมูลและแบบค วามสอดคล้องภายในได้
- เมื่อศ ึกษาจ ากต ัวอย่างแล้วสรุปอ ้างอิงไปยังท ฤษฎีได้
3. ประยกุ ตใ์ ช้(apply) หมายถ งึ ความส ามารถในก ารน�ำ ความร ทู้ ไี่ ดเ้ รยี นร ไู้ ปแ ลว้ ไปใชใ้ นส ถานการณ์
ใหม่ห รือส ถานการณท์ ี่แ ตกต ่างไปจ ากเดิม คำ�กริยาท ี่น ำ�มาใช้ในก ารว ัดร ะดับป ระยุกต์ใช้ เช่น คำ�นวณ ดำ�เนิน
การให้ส ำ�เร็จ แก้ป ัญหา ตรวจสอบ ใช้ ฯลฯ
ตัวอย่างของระดับป ระยุกต์ใช้ เช่น
- เขียนสรุปรายงานผลการเรียนป ระจำ�ภาคการศึกษาได้
- คำ�นวณค่าค วามยากของข้อสอบจากข้อมูลท ี่กำ�หนดให้ได้
- ตรวจสอบค วามถ ูกต้องของก ารว ิเคราะห์ข้อสอบได้