Page 25 - นโยบาย การวางแผน และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 25

10-15

ใหม้ เี อกภาพเชงิ นโยบาย 3) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และรว่ มมอื กบั สถานศกึ ษาในการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพ
ภายในของสถานศึกษา 4) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและพัฒนาการจัดการศึกษาของรัฐ
เอกชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ บคุ คล ครอบครวั องคก์ ารชมุ ชน องคก์ ารเอกชน องคก์ ารวชิ าชพี สถาบนั
ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนและ 5) ค�ำนึงถึงความเป็นอิสระ เสรีภาพทางวิชาการ
เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายของสถานศึกษา

       การประเมินคุณภาพการศึกษา เป็นกระบวนการวิเคราะห์และเปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานของ
สถาบันว่าส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน และตัวบ่งชี้หรือไม่ เป็นขั้นตอนส�ำคัญของการประกันคุณภาพ
เพราะการประเมินเป็นการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานเพ่ือให้เป้าหมายในการพัฒนา
เกดิ คณุ ภาพทด่ี ยี งิ่ ๆ ขน้ึ ซง่ึ การประเมนิ คณุ ภาพเปน็ ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งานทเี่ กดิ ขน้ึ ทง้ั ในการประกนั คณุ ภาพ
ภายในและการประกันคุณภาพภายนอก

       การประเมินคุณภาพภายใน เป็นกระบวนการประเมินผลการด�ำเนินงานของสถานศึกษาตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและมาตรฐานของหน่วยงานต้นสังกัด ลักษณะส�ำคัญของการประเมินผล
ภายในของสถานศึกษา คือ สถานศึกษาประเมินตนเองเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีน�ำไปสู่การพัฒนาปรับปรุงตนเอง
และพร้อมท่ีจะได้รับตรวจสอบจากการประเมินภายนอกต่อไป วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายใน
สถานศึกษา คือ 1) เพ่ือตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาตามมาตรฐานคุณภาพการ
ศึกษา ให้ทราบถึงจุดอ่อน จุดแข็งในการด�ำเนินงานของสถานศึกษา 2) เพื่อน�ำผลการประเมินมาจัดท�ำข้อมูล
พ้ืนฐานเก่ียวกับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและน�ำมาใช้ในการตัดสินใจวางแผนพัฒนาและ
ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3) เพื่อรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถาน
ศึกษาต่อหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง และสาธารณชนอนั เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อภารกจิ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
จากชมุ ชนในการดำ� เนนิ การใหไ้ ดม้ าตรฐานนำ� ไปสคู่ ณุ ภาพของผลผลติ ทส่ี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของสงั คม
4) เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มในการรบั การประเมนิ จากองคก์ ารภายนอก เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารรบั รองคณุ ภาพการศกึ ษา
มีหลักการส�ำคัญ คือ การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนที่ต้องปฏิบัติงานตามภารกิจที่แต่ละ
คนได้รับมอบหมาย โดยมุ่งพัฒนาการด�ำเนินงานตามความรับผิดชอบของตนให้มีคุณภาพดียิ่งข้ึน เน้นการ
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโดยใหเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษาทต่ี อ้ งดำ� เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ไม่ใช่ท�ำเพื่อเตรียมรับการประเมินเป็นครั้งคราว การประกันคุณภาพต้องเกิดจากความร่วมมือและจากการ
ยอมรับของบุคลากรทุกฝ่ายและน�ำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการ
ศึกษาของแต่ละสถานศึกษา

       การประเมินคณุ ภาพภายนอก เปน็ การประเมินคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา การติดตาม การตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซ่ึงกระท�ำโดยผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจาก
สำ� นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ.) เพอ่ื มงุ่ ใหม้ กี ารพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐาน
ศึกษาของสถานศึกษาให้ดีย่ิงขึ้น โดยเริ่มต้นจากการที่สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพภายใน เพ่ือ
วางแผนปรับปรุงคุณภาพของตนเอง ด�ำเนินการปรับปรุงคุณภาพ มีการก�ำกับติดตามคุณภาพและมีระบบ
ประเมินตนเองก่อนเพ่ือเตรียมการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดย สมศ. จะด�ำเนินการตรวจสอบ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30