Page 30 - นโยบาย การวางแผน และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 30

10-20

ตอนที่ 10.3 	 การดำ� เนินการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา

สาระสงั เขป

       กระทรวงศึกษาธิการได้ก�ำหนดกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา ในปี พ.ศ. 2553 มีสาระเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพภายในเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
และการพัฒนามาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ระบบการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย การประเมิน
คุณภาพภายใน การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยให้
สถานศกึ ษาด�ำเนินการประกันคณุ ภาพภายในอยา่ งต่อเน่อื งเปน็ ประจ�ำทุกปี ทงั้ นี้ โดยการสนับสนุนจากหน่วย
งานตน้ สงั กดั และการมสี ว่ นรว่ มของชุมชนและให้สถานศกึ ษาจดั ทำ� รายงานประจ�ำปที เี่ ปน็ รายงานการประเมนิ
คุณภาพภายในเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อ
พิจารณาและเปิดเผยต่อสาธารณชน อีกท้ังสถานศึกษาต้องน�ำผลการประเมินคุณภาพไปประกอบการจัดท�ำ
แผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

       การก�ำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาในแต่ละระดับเป็นบทบาท
หน้าที่ของหน่วยงานต้นสังกัดเพ่ือให้สอดคล้องกับบริบทและอุดมการณ์ในการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ
โดยในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานก�ำหนดให้มีการด�ำเนินการใน 8 ข้ันตอน คือ 1) ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา 2) จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา 3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4) ด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา 5) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 6) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7) จัดท�ำรายงานประจ�ำปีท่ีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน 8) จัดให้
มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติก�ำหนดให้การด�ำเนินการ
ประกันคุณภาพยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์การชุมชน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน เอกชน องค์การเอกชน องค์การวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน อีก
ทงั้ ในกฎกระทรวงยงั ก�ำหนดใหก้ ารด�ำเนนิ การประกนั คณุ ภาพในสถานศกึ ษายดึ หลกั การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน
และหน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งนี้ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอาจประกอบด้วย ส�ำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรในสถานศึกษา กรรมการสถานศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง
ชุมชน ส่ือมวลชน ผู้เรียน ฯลฯ

       ปัญหา อุปสรรคในการด�ำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอาจแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
ปัญหากลุ่มท่ี 1 ที่เกี่ยวเนื่องกับความเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพ ซึ่งเป็นความเข้าใจคลาดเคล่ือนเก่ียวกับ
การประกันคุณภาพ เช่น การประกันคุณภาพเป็นการเพ่ิมภาระให้กับบุคลากร การประกันคุณภาพเป็นเร่ือง
เฉพาะกิจ การประกนั คณุ ภาพมิใช่สง่ิ ทีต่ อ้ งดำ� เนนิ การอย่างต่อเนอื่ ง การประกนั คณุ ภาพไม่เกิดประโยชน์ เสยี
งบประมาณและทรัพยากร และการประกันคุณภาพมีจุดเน้นเฉพาะที่การประเมินคุณภาพ ปัญหากลุ่มท่ี 2
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35