Page 49 - การวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย หน่วยที่ 5
P. 49

ระเบียบวิธีทางสถิติและการรวบรวมข้อมูล 5-39

เพื่อใ​ห้เ​ข้าใจ​ระดับค​ วามส​ ัมพันธ์ร​ ะหว่างต​ ัวแปรไ​ด้​ง่าย​ขึ้น สามารถ​แสดงเ​ป็นภ​ าพ​ได้​ดังนี้

	 1	  0.8	 0.4	 0	 -0.4	 -0.8	 -1

      คา่ สหสัมพนั ธท์ างบวก                                 คา่ สหสมั พนั ธ์ทางลบ

3. 	การค​ �ำ นวณห​ าความส​ มั พนั ธร์​ ะหว่าง​ตวั แปร

       การ​คำ�นวณ​หาความ​สัมพันธ์​แบบ​เพียร์​สัน การ​หาความ​สัมพันธ์​ของ​ตัวแปร 2 ตัวแปร​ที่มา​จาก​
สิ่ง​เดียวกัน ข้อมูล​ที่​ได้​จาก​ตัวแปร​ทั้ง 2 ตัว​นี้ ข้อมูล​อยู่​ใน​ระดับ​อันตรภาค (interval scale) หรือ​ระดับ​
อัตราส่วน (ratio scale) ใช้​การ​วิเคราะห์​สห​สัมพันธ์​แบบเ​พียร์​สัน (Pearson's product-moment
correlation) คำ�นวณไ​ด้จ​ ากส​ ูตร ระหว่าง 2 ตัวแปรท​ ี่เ​ป็นต​ ัวแปรเ​ชิงป​ ริมาณ ค่าส​ ัมประสิทธิ์ r มีค​ ่าอ​ ยูร่​ ะหว่าง
0 ถึง °1.00 การ​หา​ค่า​สัมประสิทธิ์ r มี​สูตร​ดังนี้

	     rxy	=	                     S(X — X) (Y —  Y)
                              [S(X — X) 2] [S(Y — Y)2]

      r	 =	 ค่าส​ ัมประสิทธิ์​สห​สัมพันธ์
      x, y	 =	 ตัวแปรท​ ี่ต​ ้องการ​หาค​ ่าค​ วามส​ ัมพันธ์

หรือ

	     rxy	=	                          NSXY — SXSY
                              {[NSX2 — (SX)2] [NSY2 — (SY)2]}

      N	 แทน	 จำ�นวนค​ ู่ข​ อง​ข้อมูล
      SX	 แทน 	 ผลร​ วม​ทั้งหมดข​ องค​ ะแนน X
      SY 	 แทน 	 ผลร​ วม​ทั้งหมดข​ อง​คะแนน Y
      SX2	 แทน	 ผล​รวม​ของ​คะแนน X แต่ละ​ตัวย​ ก​กำ�ลังส​ อง
      SY2	 แทน	 ผลร​ วม​ของ​คะแนน Y แต่ละ​ตัว​ยกก​ ำ�ลัง​สอง
      SXY 	 แทน	 ผลร​ วมข​ อง​ผล​คูณร​ ะหว่าง X กับ Y
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54