Page 20 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 20

6-10 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์

4.	 เคร่อื ง​มอื ว​ ดั

       ความ​ถูก​ต้อง​ของ​การ​วัด​ขึ้น​อยู่​กับ​องค์​ประกอบ​หลาย​อย่าง องค์​ประกอบ​ที่​สำ�คัญ​อย่าง​หนึ่ง ได้แก่
คุณภาพ​ของ​เครื่อง​มือ​วัด ตลอด​จน​การ​เลือก​ใช้​และ​วิธี​การ​ใช้​เครื่อง​มือ​วัด​อย่าง​ถูก​ต้อง​และ​เหมาะ​สม​กับ​สิ่ง​
ที่​ต้องการ​วัด มนุษย์​พยายาม​สร้าง​เครื่อง​มือ​วัด​แบบ​ต่างๆ เพื่อ​ให้​สอดคล้อง​กับ​วัตถุประสงค์​ที่​ใช้ ตัวอย่าง​
ของ​เครื่อง​มือ​วัด เช่น ไม้​เมตร เทป​วัด​ระยะ ใช้​สำ�หรับ​วัด​ความ​ยาว​และ​ระยะ ลิตร (ที่​เป็น​ภาชนะ) ใช้​ตวง​
สิ่งของ นาฬิกา​ใช้​วัด​เวลา เทอร์โมมิเตอร์​ใช้​วัด​อุณหภูมิ เป็นต้น ลักษณะ​ที่​สำ�คัญข​ องเ​ครื่องม​ ือ​วัด​คือ ต้อง​ม​ี
การแ​ บ่งส​ ่วนแ​ สดงอ​ ยู่ เครื่องม​ ือว​ ัดบ​ างช​ นิดแ​ บ่งส​ ่วนไ​วล้​ ะเอียด บางช​ นิดก​ แ็​ บ่งไ​วห้​ ยาบๆ ตัวอย่างเ​ช่น นาฬิกา​
บางเ​รือนแ​ บ่งส​ ่วนไ​ว้ล​ ะเอียดถ​ ึง 60 ส่วน ทำ�ให้ส​ ามารถว​ ัดเ​วลาไ​ด้ล​ ะเอียดเ​ป็นน​ าที บางเ​รือนย​ ังม​ ีเ​ข็มว​ ินาทีอ​ ีก​
ด้วย ทำ�ให้​สามารถ​วัด​เวลาไ​ด้​ละเอียด​เป็น​วินาที แต่​นาฬิกา​บางเ​รือน​แบ่งส​ ่วน​ไว้เ​พียง 12 ส่วน หรือ 4 ส่วน
ทำ�ให้​ไม่​สามารถ​วัด​เวลา​ได้​ละเอียด​เป็น​นาที ถ้า​ต้องการ​วัด​ละเอียด​เป็น​นาที​ต้อง​ใช้​การ​กะ​ประมาณ
​เอา​เอง ซึ่ง​อาจ​ทำ�ให้​สิ่ง​ที่​ได้​จาก​การ​วัด​ไม่​ถูก​ต้อง​เหมือน​นาฬิกา​ชนิด​ที่​แบ่ง​ได้​ละเอียด​กว่า อย่างไร​ก็ตาม​
ไม่​ว่าการ​แบ่ง​ส่วน​บน​เครื่อง​มือ​จะ​แบ่ง​ละเอียด​สัก​เพียง​ใด เมื่อ​นำ�ไ​ ป​ใช้​วัด ถ้า​พิจารณา​ให้​ละเอียด​ขึ้น เช่น
ใช้​แว่น​ขยายส่อง​ดู จะ​พบ​ว่า​สามารถ​วัด​ละเอียด​กว่า​นั้น​ได้​เสมอ ทั้งนี้​เป็น​เพราะ​การ​วัด​มี​ลักษณะ​ที่​สำ�คัญ​
ประการ​หนึ่ง กล่าว​คือ​การ​วัด​ให้​ใกล้​เคียง​ของ​จริง​เท่านั้น ดัง​นั้น​ การ​วัด​ที่​ดี​ที่สุด​คือ​การ​วัด​ที่​ให้​ค่า​ใกล้​เคียง​
ความ​เป็นจ​ ริงม​ าก​ที่สุด​นั่นเอง

              หลัง​จาก​ศกึ ษาเ​น้ือหา​สาระ​เรอ่ื ง​ท่ี 6.1.1 แลว้ โปรดป​ ฏิบัติ​กจิ กรรม 6.1.1
                      ในแ​ นวก​ าร​ศึกษา​หน่วย​ท่ี 6 ตอนท​ ี่ 6.1 เรอ่ื งท​ ี่ 6.1.1

เร่ืองท​ ่ี 6.1.2	 ระบบ​หนว่ ยก​ าร​วดั ​แบบ​เมตริก

       ณ ประเทศ​ฝรั่งเศส ใน​ปีค.ศ. 1670 พระ​ชาว​ฝรั่งเศส​แห่ง​เมือง​ลี​ออง (Lyons) นาม​ว่า​กา​เบ​รี​ยล
มู​ตอง (Gabriel Mouton) ได้​เสนอ​ให้​ใช้​ระบบ​หน่วย​การ​วัด​แบบ​ใหม่​แทน​ระบบ​หน่วย​การ​วัด​แบบ​เดิม
ซ​ ึ่งห​ น่วยต​ ่างๆ มีค​ วามส​ ัมพันธ์ก​ ันอ​ ย่างไ​ม่เ​ป็นร​ ะบบ ท่านเ​สนอใ​ห้ส​ ร้างห​ น่วยค​ วามย​ าวใ​ห้ม​ ีค​ วามส​ ัมพันธ์ก​ ับ​
เส้น​รอบ​วง​ของ​โลก แล้ว​สร้าง​ระบบ​หน่วย​การ​วัด​ให้​เป็น​ระบบ​ตัวเลข​ฐาน​สิบ​โดย​ใช้​หน่วย​ความ​ยาว​ดัง​กล่าว​
เป็น​พื้น​ฐาน อาศัยแ​ นวคิดข​ อง​ท่าน​และ​คนอ​ ื่นๆ อีก​หลาย​คนท​ ี่​มีแ​ นวคิดไ​ปใ​นท​ างเ​ดียวกัน ใน​ที่สุดจ​ ึงม​ ี​การ​
พัฒนาร​ ะบบ​หน่วยการ​วัดแ​ บบเ​มตริก​ขึ้น

       ใน​ปีค.ศ. 1791 สภา​แห่ง​ชาติ​ฝรั่งเศส​ได้​มอบ​หมาย​ให้ Paris Academy of Sciences กำ�หนด​
หน่วย​มาตรฐาน​การ​วัด​ขึ้น หน่วย​การ​วัด​ที่​ได้​รับ​การ​กำ�หนด​ขึ้น​ใน​ครั้ง​นี้ ได้แก่ หน่วย​ความ​ยาว​มาตรฐาน​
ที่​เรียก​ว่า เมตร โดย​กำ�หนด​ให้​ความยาว 1 เมตร เทียบ​เท่ากับ​ความ​ยาว​หนึ่ง​ใน​สิบ​ล้าน​ส่วน​ของ​ระยะ​ทาง​
จาก​เส้นศูนย์สูตร​ไป​ยัง​ขั้ว​โลก​เหนือ โดย​วัด​ตาม​แนว​เส้น​เม​ริ​เดีย​น​ซึ่ง​พาด​ผ่าน​เมือ​งดันเคิร์ก (Dunkirk)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25