Page 18 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 18

6-8 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์

       ภาพท​ ี่ 6.1 แสดง​ให้เ​ห็น​ว่า​ดินสอ​แท่งน​ ี้ย​ าว 5 หน่วย การ​วัดท​ ำ�ได้โ​ดยก​ ารนำ�แ​ ท่ง​ดินสอไ​ป​วางเ​ทียบ​
กับ​ไม้บรรทัดซ​ ึ่ง​มี​มาตราข​ องห​ น่วยก​ าร​วัด​แสดง​อยู่ แล้ว​นับ​หน่วยท​ ี่​ปรากฏอ​ ยู่​บน​ไม้บรรทัด การ​นับ​เริ่ม​ต้น​
หน่วย​ที่​หนึ่ง​ตรง​ที่​ปลาย​ดินสอ​ข้าง​หนึ่ง​จรด​อยู่ แล้ว​นับ​ต่อ​ไป​เรื่อยๆ จนถึง​ตรง​ที่​ปลาย​อีก​ข้าง​หนึ่ง​จรด​อยู่
จำ�นวนท​ ีน่​ ับไ​ดค้​ ือค​ วามย​ าวข​ องด​ ินสอแ​ ท่งน​ ั้น การว​ างแ​ ท่งด​ ินสอเ​ทียบก​ ับไ​ม้บรรทัดด​ ังแ​ สดงใ​นภ​ าพท​ ี่ 6.1 จะ​
วางป​ ลาย​ดินสอข​ ้างห​ นึ่ง​อยู่​ที่ 0 เพื่อใ​ห้​สามารถ​ทราบจ​ ำ�นวนไ​ด้​ทันทีจ​ ากก​ าร​อ่าน​ตัวเลข​ที่​อยู่ต​ รงป​ ลายด​ ินสอ​
อีก​ข้าง​หนึ่ง ซึ่ง​เป็น​วิธี​ที่​นิยม​กัน​เพราะ​ทำ�ให้​อ่าน​ได้​รวดเร็ว​และ​ไม่​ค่อย​ผิด​พลาด แต่​ทั้งนี้​ไม่​ได้​หมายความ​
ว่าการ​วัด​ทุก​ครั้งต​ ้อง​เริ่มจ​ าก 0 เสมอ​ไป แท้​ที่​จริงแ​ ล้ว​จะ​เริ่มจ​ าก​ตรง​ไหน​ก็ได้ เพียง​แต่​ขอ​ให้​นับ​จำ�นวน​ให้​
ถูก​เท่านั้น

       จากต​ ัวอย่างแ​ สดงก​ ารว​ ัดด​ ังท​ ีก่​ ล่าวม​ าแ​ ล้ว แสดงใ​หเ้​ห็นค​ วามห​ มายข​ องก​ ารว​ ัดว​ ่าเ​ป็นการห​ าป​ ริมาณ​
ของ​สิ่ง​ที่​ไม่​ทราบ​ค่า​โดย​เปรียบ​เทียบ​กับ​ปริมาณ​ของ​สิ่ง​ที่​ทราบ​ค่า​อยู่​แล้ว สิ่ง​ที่​ทราบ​ค่า​อยู่​แล้ว​คือ “หน่วย
​การ​วัด” สิ่ง​ที่​ไม่​ทราบ​ค่า​คือ​สิ่ง​ที่​ต้องการ​วัด ปริมาณ​ของ​สิ่ง​ที่​ไม่​ทราบ​ค่า​คือ จำ�นวน​ที่​แสดง​ว่า​สิ่ง​ที่​ไม่​ทราบ​
ค่า​นั้น​เป็นก​ ี่เ​ท่าข​ อง​หน่วย​การว​ ัด

2.	 หนว่ ยก​ ารว​ ัด

       หน่วยก​ าร​วัด คือป​ ริมาณ​ที่ท​ ราบค​ ่า ใช้ส​ ำ�หรับ​นำ�ป​ ริมาณท​ ี่ไ​ม่​ทราบค​ ่าม​ า​เปรียบ​เทียบ ตัวอย่างเ​ช่น
เรา​อาจ​จะ​ตั้ง​หน่วย​การ​วัด​ขึ้น​มา​หนึ่ง​หน่วย ให้​ชื่อ​ว่า “ก๊อ​ง” หน่วย​การ​วัด​หน่วย​นี้​จะ​ไม่​สามารถ​นำ�ไ​ป​ใช้​วัด​
ได้​เลย​จนกว่า​จะ​กำ�หนด​ค่า​โดย​นำ�ไ​ ป​สัมพันธ์​กับ​สิ่ง​ใด​สิ่ง​หนึ่ง สมมติ​ว่า​ระยะ​ทาง​ที่​กบ​กระโดด​อย่าง​เต็ม​ที่​
เท่ากับ 1 ก๊อ​ง หน่วยน​ ี้​ก็จ​ ะ​มีค​ วามห​ มาย สามารถน​ ำ�ไ​ปใ​ช้ว​ ัดไ​ด้ ตัวอย่าง​เช่น เด็กส​ อง​คน​ยืนอ​ ยู่​ห่างก​ ัน 20
ก๊อง​ เป็นต้น

       มนุษย์​เรา​รู้จัก​การ​วัด​กัน​มา​นาน​แล้ว ด้วย​สาเหตุ​เพราะ​มนุษย์​ไม่​สามารถ​ผลิต​สินค้า​และ​บริการ
​ทุกๆ อย่าง​ด้วยต​ นเอง​ได้ จึงจ​ ำ�เป็น​ที่​จะต​ ้อง​แลก​เปลี่ยน​สินค้าก​ ัน และ​การแ​ ลกเ​ปลี่ยนท​ ี่​ดีท​ ี่สุดน​ ั้น​ก็​จำ�เป็น​ที่​
จะ​ต้อง​มีก​ าร​ชั่ง​ตวง​วัดท​ ี่เ​ป็นม​ าตรฐาน ซึ่งเ​ป็นม​ าตรา​ที่​คนท​ ั่วไปย​ อมรับ ​ดัง​นั้น​ มาตรา​ชั่ง ตวง วัด จึง​ได้ถ​ ือ​
กำ�เนิด​ขึ้นม​ า

       ใน​สมัย​ก่อน​จะ​กำ�หนด​หน่วย​การ​วัด​โดย​นำ�ไ​ป​สัมพันธ์​กับ​ความ​ยาว​ของ​ส่วน​ต่างๆ ของ​ร่างกาย ใน
การต​ ั้งช​ ื่อห​ น่วยก​ ารว​ ัด บางทีก​ ็น​ ำ�ช​ ื่อส​ ่วนข​ องร​ ่างกาย​นั้นเ​ป็นช​ ื่อข​ องห​ น่วยก​ ารว​ ัดเ​ลย เช่น นิ้ว (อียิปต์โ​บราณ)
เป็น​หน่วย​การ​วัด​ที่​เทียบ​กับ​ความ​กว้าง​ของ​นิ้ว​หัว​แม่​มือ ฟุต​เป็น​หน่วย​การ​วัด​ที่​เทียบ​กับ​ความ​ยาว​ของ​เท้า
โดยว​ ัดจ​ ากส​ ้นเ​ท้าไ​ป​ยัง​นิ้วเ​ท้า (ฟุต​เป็น​คำ�ท​ ับศ​ ัพท์​ภาษา​อังกฤษ คือ foot แปล​ว่า เท้า)

       สิ่ง​ที่​นำ�ม​ า​สัมพันธ์​กับ​หน่วย​การ​วัด​ที่​กำ�หนด​ขึ้น​เรียก​ว่า มาตรฐาน​การ​วัด (Standard of Mea-
surement) ใน​สมัยโ​บราณ​ที่​ใช้​ความย​ าว​ของ​ส่วนต​ ่างๆ ของร​ ่างกาย​เป็นม​ าตรฐานก​ าร​วัด​จึงท​ ำ�ให้​เกิดป​ ัญหา
เพราะ​คน​เรา​มี​ความ​ยาว​ของ​ส่วนต​ ่างๆ ของร​ ่างกาย​ไม่เ​ท่า​กัน แต่​ในป​ ัจจุบัน​ได้ม​ ีก​ าร​กำ�หนดม​ าตรฐาน​การ​วัด​
ที่​เป็น​สากล​ขึ้น​เพื่อ​ให้​สื่อ​ความ​หมาย​ได้​ตรง​กัน​และ​เพื่อ​ป้องกัน​การ​ได้​เปรียบ​เสีย​เปรียบ​ซึ่ง​กัน​และ​กัน เมื่อ​มี​
การ​ติดต่อ​ซื้อ​ขาย​แลก​เปลี่ยน​สินค้า
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23