Page 23 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 23

การจ​ ัด​ประสบการณ์​การเ​รียนร​ ู้​เกี่ยวก​ ับ​การ​วัด 6-13

ตารางท​ ี่ 6.4 ความ​สัมพันธ์​ระหวา่ ง​หน่วยก​ ารว​ ดั ​นา้ํ ห​ นักใ​นร​ ะบบ​เมตรกิ

   หนว่ ยการวัดนาํ้ หนัก        ความหมาย

1 ไมโครกรัม               เท่ากับ 0.000001 กรัม
1 มิลลิกรัม               เท่ากับ 0.001 กรัม
1 เซนติกรัม               เท่ากับ 0.01 กรัม
1 เดซิกรัม                เท่ากับ 0.1 กรัม
1 เดคากรัม                เท่ากับ 10 กรัม
1 เฮกโตกรัม               เท่ากับ 100 กรัม
1 กิโลกรัม                เท่ากับ 1,000 กรัม
1 เมกะกรัม                เท่ากับ 1,000,000 กรัม

       ในป​ ี ค.ศ. 1875 ไดม​้ ข​ี อ้ ต​ กลงร​ ะหวา่ งช​ าตเ​ิ พือ่ พ​ ฒั นาร​ ะบบเ​มตรกิ ใ​หเ​้ ปน็ ร​ ะบบก​ ารว​ ดั ร​ ะหวา่ งช​ าตแ​ิ ละ​
ได้​จัด​ตั้ง International Bureau of Weight and Measures ขึ้น​ที่​เมืองเ​ซฟ​ร์ (Sivres) ใกล้​ปารีส (Paris)
ในป​ ระเทศ​ฝรั่งเศส งานช​ ิ้นแ​ รกข​ องส​ ถาบัน​แห่ง​นี้​ซึ่งไ​ด้​จากก​ าร​ประชุม​ระหว่างช​ าติค​ รั้ง​ที่​หนึ่งใ​น​ปี ค.ศ. 1889
ได้แก่ การก​ ำ�หนด​ระยะ 1 เมตร​มาตรฐานข​ ึ้น​ใหม่ โดยก​ ำ�หนดใ​ห้ค​ วามยาว 1 เมตรเ​ทียบเ​ท่ากับ​ความ​ยาวข​ อง​
แท่ง​โลหะต​ ้นแบบซ​ ึ่งเ​ก็บไ​ว้ ณ สถาบัน​แห่งน​ ี้ แท่งโ​ลหะต​ ้นแบบ​เป็น​แท่งโ​ลหะ​ทองคำ�ขาว​ผสม​อิริเดียม โดย​มี​
ส่วน​ผสมข​ อง​ทองคำ�ขาวร​ ้อย​ละ 90 และ​อิริเดียมร​ ้อย​ละ 10 ของท​ ั้งหมด และถ​ ึง​แม้ค​ วาม​ยาวข​ อง​แท่ง​โลหะ​
ต้นแบบ​จะ​ไม่​แตก​ต่าง​จาก​ความยาว 1 เมตร​เดิม การ​กล่าว​ถึง​ความ​ยาว​ของ​เมตร​มาตรฐาน​ก็​นิยม​อ้าง​ถึง​
แท่งโ​ลหะต​ ้นแบบ​นี้แ​ ทนก​ าร​อ้างถ​ ึงค​ วามยาว 1 เมตร​เดิม

       ระบบ​หน่วย​การ​วัด​แบบ​เมตริก​ได้​รับ​การ​พัฒนา​ต่อ​มา​เรื่อยๆ การ​ปรับ​ระบบ​ครั้ง​ล่าสุด ​ได้แก่​  การ​
กำ�หนด​ระบบ SI (le System International d’ unites หรือ International System of units) เพื่อ
ป​ ระโยชนใ์​นว​ งการค​ ้า วทิ ยาศาสตร์แ​ ละอ​ ตุ สาหกรรม ระบบ SI ไดร​้ ับก​ ารพ​ ฒั นาข​ ึ้นจ​ ากก​ ารป​ ระชุมร​ ะหว่างช​ าต​ิ 
ครั้ง​ที่ 11 (Eleventh General Conference of Weights and Measures) ที่​ปารีส ผล​การ​ประชุม​ได้​ม​ี
การ​กำ�หนด​เมตร​มาตรฐาน​ให้​มี ความยาว 1,650,763.63 เท่า​ของ​ความ​ยาว​ของ​คลื่น​แสง​สี​แสด-แดง​ซึ่ง​
ออก​มา​จาก​ก๊าซ​คริปทอน-86 (Krypton-86) นอกจาก​นี้​ยัง​ได้​มี​การ​กำ�หนด​กิโลกรัม​มาตรฐาน​เป็น​แท่ง​โลหะ​
รูปท​ รงก​ ระบอกซ​ ึ่งม​ คี​ วามส​ ูงแ​ ละเ​ส้นผ​ ่านศ​ ูนย์กลางย​ าวเ​ท่าก​ ัน ส่วนผ​ สมข​ องแ​ ท่งโ​ลหะก​ ิโลกรัมม​ าตรฐานเ​ป็น​
เช่นเ​ดียวก​ ับเ​มตรม​ าตรฐาน​คือท​ องคำ�ขาวร​ ้อยล​ ะ 90 และอ​ ิริเดียม​ร้อย​ละ 10 ของท​ ั้งหมด กิโลกรัม​มาตรฐาน​
ต้นแบบ​นี้​เก็บ​ไว้​ที่ International Bureau of Weight and Measures เช่น​เดียวกัน​กับ​เมตร​มาตรฐาน
ประเทศไทย​ได้​เข้า​ร่วม​เป็น​สมาชิก​ของ International Bureau of Weight and Measures ใน​ปี พ.ศ.
2455 (ค.ศ. 1912)

       การ​พัฒนา​ระบบ SI นอกจาก​จะ​มี​การ​ปรับ​มาตรฐาน​การ​วัด​แล้ว​ยัง​มี​การ​กำ�หนด​หน่วย​การ​วัด
ตลอด​จนส​ ัญลักษณ์ต​ ่างๆ ตัวอย่างบ​ างส​ ่วนข​ อง​ระบบ SI แสดงใ​น​ตารางท​ ี่ 6.5
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28