Page 28 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 28

6-18 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์

เร่ือง​ท่ี 6.2.1 แนวคดิ เ​กย่ี วก​ ับ​การ​วดั เ​ชิงเ​สน้

       การว​ ัด​เชิงเ​ส้น​มี 2 ลักษณะ ได้แก่ การว​ ัด​ความย​ าวแ​ ละก​ าร​วัดร​ ะยะค​ ำ�ว​ ่า “ความยาว” และ “ระยะ”
มี​ความห​ มาย​ต่างก​ ัน ดัง​แสดง​ใน​ภาพ​ที่ 6.2

ความย​ าว​ของด​ ินสอ                   ระยะห​ ่างร​ ะหว่างเ​สา​ไฟฟ้า
      (1)                                       (2)

                      ภาพ​ท่ี 6.2 การ​วดั เ​ชงิ เ​สน้

       จาก​ภาพ​ที่ 6.2 จะ​เห็น​ว่าการ​วัด​เชิง​เส้น​ทั้ง​สอง​ภาพ​มี​ความ​แตก​ต่าง​กัน ภาพ​ที่ 6.2 (1) แสดง​
ความ​หมาย​ของ “ความยาว” ส่วน​ภาพ​ที่ 6.2 (2) แสดง​ความ​หมาย​ของ “ระยะ” การ​วัด​ความ​ยาว​มี​วัตถุ​
อยู่​เพียง​ชิ้น​เดียว​ซึ่ง​ใน​ที่​นี้​คือ​ดินสอ ส่วน​การ​วัด​ระยะ​ต้อง​มี​วัตถุ​สอง​สิ่ง ซึ่ง​ใน​ที่​นี้​คือ​เสา​ไฟฟ้า​สอง​ต้น​อยู่​
แยกจ​ ากก​ ันจ​ ึงท​ ำ�ให้​เกิด​ช่อง​ว่าง​ระหว่าง​วัตถุท​ ั้งส​ อง​นี้

       จาก​ข้อ​สังเกต​ข้าง​ต้น​สามารถ​สรุป​ได้​ว่า ความยาว เป็น​สมบัติ​ประการ​หนึ่ง​ของ​วัตถุ ซึ่ง การ​วัด
ความยาว คือ​การ​หา​ว่า​วัตถุ​มีส​ มบัติ​ด้าน​ความย​ าวม​ าก​น้อยเ​พียง​ใด ส่วน การว​ ัดร​ ะยะ คือก​ าร​หา​ว่า​วัตถุส​ อง​
สิ่ง​อยู่ห​ ่าง​จาก​กัน​มากห​ รือ​น้อยเ​พียง​ใด

ระบบห​ น่วย​การ​วดั ค​ วามย​ าวแ​ ละ​ระยะ

       เนื่องจาก​หลักสูตร​คณิตศาสตร์​ระดับ​ประถม​ศึกษา​และ​มัธยมศึกษา​ตอน​ต้น​กล่าว​ถึง​ระบบ​หน่วย
​การ​วัด​ความ​ยาว​และ​ระยะ​เพียง 2 ระบบ คือ ระบบ​เมตริก​และ​ระบบ​ประเพณี​หรือ​ระบบ​ไทย ดัง​นั้น​ใน​ที่​นี้​
จึง​ขอ​กล่าวถ​ ึงเ​ฉพาะร​ ะบบห​ น่วยก​ าร​วัดท​ ั้ง​สองน​ ี้เ​ท่านั้น
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33