Page 32 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 32

6-22 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
       การ​อนุรักษ์​ระยะท​ าง สมมติว​ ่าค​ รูใ​ห้​นักเรียนส​ อง​คน​ยืนอ​ ยู่​ห่างก​ ันพ​ อป​ ระมาณ แล้วค​ รู​นำ�เ​ก้าอี้ม​ า​

วางค​ ั่น​กลาง​ระหว่าง​นักเรียน​ทั้ง​สอง​คน ดัง​แสดงใ​น​ภาพท​ ี่ 6.6

                 (1)

                  (2)

                  (3)

                       ภาพ​ท่ี 6.6 การ​เปรยี บ​เทยี บ​ระยะ​ทางร​ ะหว่างเ​ด็กส​ อง​คน
       นักเรียนท​ ีม่​ คี​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารอ​ นุรักษร์​ ะยะท​ างจ​ ะบ​ อกไ​ดว้​ ่า ระยะท​ างร​ ะหว่างเ​ด็กท​ ั้งส​ องย​ ่อมย​ าว​
เท่า​เดิม ไม่ว​ ่า​จะเ​ป็นร​ ะยะท​ างใน​ภาพท​ ี่ 6.6 (1) หรือ 6.6 (2) หรือ 6.6 (3) ต่างก​ ็ม​ ี​ระยะ​ทางร​ ะหว่างเ​ด็ก​ทั้งส​ อง​
เท่า​กัน นั่น​คือ​นักเรียน​สามารถ​เข้าใจ​ได้​ว่า​ระยะ​ทาง​ระหว่าง​ของ​สอง​สิ่ง​ย่อม​ไม่​เปลี่ยนแปลง​ถึง​แม้​จะ​มี​สิ่ง​ใด​
สิ่ง​หนึ่ง​มา​อยู่​ระหว่าง​ของ​สองส​ ิ่ง​นั้นก​ ็ตาม
       2.	 เนื่องจาก​การ​วัด​เป็น​เรื่อง​ของ​การ​เปรียบ​เทียบ ก่อน​เรียน​การ​วัด​โดย​ใช้​หน่วย​การ​วัด นักเรียน​
ควร​รู้จัก​การ​เปรียบ​เทียบ​โดย​ยัง​ไม่​ต้อง​ใช้​หน่วย​การ​วัด​ก่อน การ​เปรียบ​เทียบ​เหล่า​นี้​ทำ�ได้​โดย​การนำ�ส​ ิ่งของ​
มา​วาง​เทียบ​กัน​โดยตรง​เพื่อ​ดู​ว่า​สิ่ง​ไหน “ยาว​กว่า (สูง​กว่า หนา​กว่า)” “สั้น​กว่า (เตี้ย​กว่า บาง​กว่า)” หรือ
“ยาวเ​ท่า​กัน (สูงเ​ท่าก​ ัน หนาเ​ท่าก​ ัน)”
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37