Page 33 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 33

การจ​ ัดป​ ระสบการณ์ก​ าร​เรียนร​ ู้เ​กี่ยว​กับ​การ​วัด 6-23

       3.	 การ​สอน​การ​วัด​ควร​ใช้​สถานการณ์​ปัญหา​ใน​ชีวิต​จริง​เป็น​สิ่ง​เร้า เพื่อ​ให้​นักเรียน​ใช้​การ​ทดลอง
​เพื่อ​หา​คำ�ต​ อบ ซึ่ง​เป็นการ​ฝึก​ให้​นักเรียน​ได้​ศึกษา​ค้นคว้า​ด้วย​ตนเอง ฝึก​ให้​นักเรียน​ได้​คิด ได้​ลงมือ​ปฏิบัติ
และห​ าข​ อ้ ส​ รปุ ด​ ว้ ยต​ นเองเ​ทา่ ท​ จี​่ ะส​ ามารถท​ ำ�ได้ ซึง่ ถ​ อื เ​ปน็ การจ​ ดั การเ​รยี นก​ ารส​ อนท​ เี​่ นน้ ผ​ เู​้ รยี นเ​ปน็ ศ​ นู ยก์ ลาง
นำ�ไ​ปส​ ู่จ​ ุดห​ มายป​ ลายท​ างห​ รือเ​ป้าห​ มาย (Goal) ที่เ​ราจ​ ะป​ ั้นผ​ ู้เ​รียนแ​ ต่ละค​ นโ​ดยม​ ุ่งป​ ระโยชน์ส​ ูงสุดต​ ่อผ​ ู้เ​รียน
อีกท​ ัง้ ย​ งั เ​ป็นการฝ​ ึกท​ กั ษะก​ ารแ​ กป้​ ัญหาเ​กีย่ วก​ ับก​ ารว​ ดั และก​ ารนำ�ค​ วามร​ เู​้ กีย่ วก​ ับก​ ารว​ ัดไ​ปใ​ชใ้​นส​ ถานการณ​์
ต่างๆ

       4.	 การ​สอน​การ​วัด​ควร​กระตุ้น​ให้​นักเรียน​ฝึก​ใช้​ทักษะ​และ​กระบวนการ​แก้​ปัญหา​ที่​หลาก​หลาย
พยายามแ​ สวงหา​คำ�ต​ อบด​ ้วยว​ ิธี​ต่างๆ

       5.	 การ​สอน​การ​วัด​ควร​เริ่ม​ต้น​ฝึก​การ​วัด​โดย​ไม่​ใช้​หน่วย​มาตรฐาน​ก่อน เพราะ​จะ​ช่วย​ให้​นักเรียน​
เข้าใจค​ วามห​ มาย​ของห​ น่วย​การว​ ัดไ​ด้ด​ ี ต่อไ​ป​จึงส​ อนก​ าร​วัดโ​ดยใ​ช้​หน่วย​มาตรฐาน

       6.	 การส​ อนก​ ารว​ ดั ค​ วรส​ ง่ เ​สริมแ​ ละฝ​ ึกฝนใ​หน​้ กั เรียนม​ ค​ี วามส​ ามารถใ​นก​ ารค​ าดค​ ะเนค​ วามย​ าวแ​ ละ​
ระยะท​ าง​ซึ่งเ​ป็น​ทักษะท​ ี่ม​ ีป​ ระโยชน์ใ​นช​ ีวิต​ประจำ�ว​ ัน

       ตัวอย่างก​ ิจกรรมก​ าร​สอน

                               กิจกรรมท​ ี่ 1 การ​อนรุ ักษค​์ วามยาว*

  วัตถุประสงค์ 	 เพื่อส​ ำ�รวจค​ วามส​ ามารถ​ในก​ าร​อนุรักษ์​ความย​ าว​ของน​ ักเรียน
  อุปกรณ์	วัสดุส​ อง​ชิ้น​ที่​มี​ลักษณะ​เหมือนก​ ัน​และม​ ีค​ วาม​ยาว​เท่า​กัน เช่น ดินสอ 2 แท่ง ปากกา 2 แท่ง

               หรือแท่งไ​ม้ 2 อัน
  วิธีก​ าร	 น ำ�ว​ ัสดุ​ทั้งส​ องช​ ิ้น​วาง​เทียบก​ ันเ​พื่อ​ให้​นักเรียน​พิจารณา จนน​ ักเรียน​ยอมรับ​ว่า​วัสดุท​ ั้ง​สอง​ชิ้น​

               มี​ความ​ยาว​เท่า​กัน หลัง​จาก​นั้น​จึง​เปลี่ยน​ตำ�แหน่ง​ของ​วัสดุ​ชิ้น​หนึ่ง​โดย​การ​เลื่อน​ไป​ข้าง​หน้า
               เลื่อนไ​ปข​ ้าง​หลัง เลื่อน​ไป​ข้าง​บน หรือเ​ลื่อน​ลง​ข้างล​ ่าง ให้น​ ักเรียน​เปรียบ​เทียบค​ วามย​ าว​ของ​
               วัสดุ​ทั้งส​ อง​สิ่งห​ ลังจ​ ากเ​ปลี่ยน​ตำ�แหน่ง​แล้ว

*หมายเหตุ	 ก ิจกรรม “การอ​ นุรักษ์ค​ วามยาว” นี้ ควร​สอนใ​นช​ ่วง​เริ่มต​ ้น​ของก​ ารเ​รียน​เรื่องก​ าร​วัดเ​พื่อ​ให้​นักเรียน​ม​ี
          ความ​เข้าใจ​เกี่ยว​กับ​ความ​คงตัว​ของ​สสาร เนื่องจาก​เรื่อง​ความ​คงตัว​เป็น​เรื่อง​ที่​ค่อน​ข้าง​จะ​ยาก​สำ�หรับ​
          เด็ก​เล็ก ดัง​นั้น​เด็ก​เล็ก​บาง​คน​อาจ​จะ​ไม่​เข้าใจ แต่​โดย​เฉลี่ย​เด็ก​อา​ยุ​ราวๆ 7–8 ขวบ จะ​มี​ความ​เข้าใจ​
          ความค​ งตัวข​ อง​ความยาว ปริมาตร นอกจาก​นี้​เด็กจ​ ะส​ ามารถ​เปรียบ​เทียบ​สิ่งของว​ ่าม​ ากกว่า ใหญ่​กว่า
          ยาวก​ ว่า เข้ม​กว่า ถ้าห​ าก​มีข​ อง​จริง​ตั้งใ​ห้เ​ด็ก หรือ​ให้เ​ด็กไ​ด้​ลงมือ​ปฏิบัติ เด็ก​จะ​สามารถจ​ ัดล​ ำ�ดับไ​ด้
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38