Page 37 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 37

การ​จัดป​ ระสบการณ์ก​ ารเ​รียนร​ ู้เ​กี่ยวก​ ับก​ าร​วัด 6-27

       กิจกรรม​ที่ 4 เป็นการ​หาความ​สูง​โดย​การ​ทดลอง เรา​อาจ​คำ�นวณ​หา​ระยะ​ทาง​และ​ความ​สูง​โดย​ใช้​
สูตรต​ รีโกณมิติ​ซึ่ง​อาศัย​ด้านแ​ ละม​ ุมข​ องร​ ูปส​ ามเหลี่ยม ดังน​ ั้น​ ในก​ าร​สอนก​ าร​วัด​ระยะ​ทาง​เชิงเ​ส้นค​ รูค​ วรใ​ห​้
นักเรียน​มีป​ ระสบการณ์​ด้วยก​ ารท​ ดลองก​ ่อน​แล้ว​จึง​นำ�ไ​ป​สู่ก​ าร​หาร​ ะยะ​ทาง​ด้วยก​ ารใ​ช้ส​ ูตร

                               กจิ กรรมท​ ี่ 5 การ​คาดค​ ะเน​ความยาว

  วัตถุประสงค์ 	 เพื่อฝ​ ึก​ทักษะ​การค​ าด​คะเน​ความยาว
  อุปกรณ์	 เครื่องม​ ือว​ ัด​ความยาว เช่น ไม้เ​มตร ไม้บรรทัด เทปว​ ัด​ระยะ
  วิธีก​ าร	 หลงั จ​ ากน​ กั เรยี นค​ นุ้ เ​คยก​ บั ห​ นว่ ยค​ วามย​ าวม​ าตรฐาน เชน่ เมตร เซนตเิ มตร กอ่ นใ​หน​้ กั เรยี นว​ ดั

               ความ​ยาว​ของ​สิ่งใ​ด ควร​หัดใ​ห้น​ ักเรียน​คาด​คะเนค​ วามย​ าว​ของส​ ิ่งน​ ั้นก​ ่อน แล้วจ​ ึงต​ รวจส​ อบ
               ​ด้วย​การ​วัด โดย​อาจ​ฝึก​ให้​นักเรียน​ใช้​การ​รับ​รู้​ถึง​ความ​สัมพันธ์​เชิง​ปริภูมิ (Perception
               of Spatial Relationships) ซึ่ง​เป็น​ความ​สามารถ​ใน​การ​มอง​เห็น​หรือ​นึก​ภาพ​วัตถุ​สอง​สิ่ง​
               ขึ้น​ไป​ใน​เชิง​เปรียบ​เทียบ​กับ​ตนเอง หรือ​ใน​เชิง​เปรียบ​เทียบ​ระหว่าง​วัตถุ​ต่างๆ นั้น​ช่วย​ใน​
               การค​ าดค​ ะเน เช่น นักเรียนส​ ามารถบ​ อก​ได้​ว่า​ครูส​ ูง​เท่าไร โดยใ​ช้​ความส​ ูง​ของ​ตัว​เองเ​ป็น​ตัว​
               เปรียบเ​ทียบ แล้ว​จึง​คาด​คะเนค​ วาม​สูงข​ องค​ รู เป็นต้น

       เพราะ​ใน​ชีวิต​ประจำ�ว​ ัน​ของ​เรา​นั้น​ไม่​จำ�เป็น​ต้อง​ใช้​การ​วัด​อย่าง​ละเอียด เพียง​ใช้​การ​คาด​คะเน​ก็​
สามารถ​สื่อ​ความ​หมาย​กัน​ได้ ครู​จึง​ควร​จัด​กิจกรรม​ให้​นักเรียน​ได้​ปฏิบัติ​การ​คาด​คะเน​บ่อยๆ เพื่อ​ทำ�ให้​
นักเรียน​มี​ทักษะ​และ​สามารถ​คาด​คะเน​ได้​ใกล้​เคียง​กับ​ความ​เป็น​จริง​มาก​ขึ้น ตัวอย่าง​เช่น ถาม​นักเรียน​ว่า​
บ้านข​ องน​ ักเรียนอ​ ยูห่​ ่างจ​ ากถ​ นนเ​ท่าไร ครคู​ วรอ​ ภิปรายจ​ นน​ ักเรียนพ​ บว​ ่า ในก​ ารต​ อบค​ ำ�ถามเ​ราไ​มจ่​ ำ�เป็นต​ ้อง​
นำ�เ​ทป​วัดร​ ะยะม​ าว​ ัด​ว่าบ​ ้านข​ อง​เรา​อยู่ห​ ่าง​จากถ​ นนเ​ท่าไร เรา​เพียงใ​ช้​ทักษะก​ ารค​ าด​คะเนร​ ะยะท​ าง​ก็ส​ ามารถ​
บอก​ได้​ว่า​บ้านข​ อง​เรา​อยู่​ห่างจ​ ากถ​ นน​เท่าไร

       ใน​ชีวิต​ประจำ�ว​ ัน​นอกจาก​จะ​บอก​ระยะ​ทาง​โดย​อาศัย​การ​คาด​คะเน​ระยะ​ทาง​แล้ว ยัง​นิยม​บอก
​ระยะ​ทาง​โดย​นำ�ไ​ ป​สัมพันธ์​กับ​เวลา​ด้วย ตัวอย่าง​เช่น บอก​ว่า​บ้าน​ของ​เพื่อน​และ​ของ​เรา​อยู่​ห่าง​กัน​โดย​ใช้​
เวลาเ​ดินป​ ระมาณ 10 นาที หรือฉ​ ะเชิงเทราอ​ ยู่ห​ ่าง​จากก​ รุงเทพฯ โดยใ​ช้เ​วลา​เดิน​ทางโ​ดย​รถยนต์​ประมาณ 2
ชั่วโมง เป็นต้น ในการเ​รียน​การส​ อนเ​กี่ยวก​ ับก​ าร​วัดค​ วามย​ าวแ​ ละร​ ะยะ​ทาง ครูแ​ ละน​ ักเรียน​ควร​นำ�ป​ ระเด็น​
ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การนำ�เ​วลา​มาใ​ช้​เป็นเ​ครื่องบ​ อกร​ ะยะท​ าง​มา​อภิปราย​ร่วม​กัน​ด้วย

       การว​ ัด​เชิง​เส้น​ครอบคลุม​ทั้งก​ าร​วัดค​ วาม​ยาว​ของส​ ่วนข​ อง​เส้นต​ รง​และ​เส้น​โค้ง ในก​ าร​วัดค​ วาม​ยาว​
ของ​เส้น​โค้ง​ต้องใ​ช้​การ​วัด​ทางอ​ ้อม คือ อาจใ​ช้ด​ ้าย เชือก หรือ​ขด​ลวดเ​ล็กๆ ขด​ไป​ตาม​เส้น​โค้งน​ ั้น แล้ว​นำ�ม​ า​
วาง​ขึง​ให้​ตึงบ​ น​เครื่องม​ ือว​ ัด เช่น ไม้บรรทัด ก็จ​ ะส​ ามารถท​ ำ�ให้​ทราบค​ วาม​ยาว​ของ​เส้น​โค้งน​ ั้นไ​ด้ ในก​ ารส​ อน​
การว​ ัด ความ​ยาว​ของ​เส้นโ​ค้ง สิ่งท​ ี่​ครูต​ ้องเ​น้น​เป็น​พิเศษค​ ือ การ​ทาบส​ ิ่งท​ ี่​ใช้ว​ ัด เช่น ด้าย เชือก หรือ​ขดล​ วด
ต้อง​ค่อยๆ ทาบ​ไป​ตาม​เส้น​โค้ง​ที​ละ​น้อย เพื่อ​ช่วย​ให้​เกิด​ความคลาด​เคลื่อน​ใน​การ​วัด​ให้​น้อย​ที่สุด​และ​ควร​
ใช้​การ​วัด​หลายๆ ครั้ง
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42