Page 34 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 34
6-24 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
ในก รณีที่ม ีนักเรียนคนใดแ สดงว่าย ังไม่มีความสามารถในการอ นุรักษ์ค วามยาว วิธีแ ก้มีส องวิธีค ือ
รอจ นกว่านักเรียนจะม ีค วามสามารถในก ารอนุรักษ์ค วามยาวด้วยตนเองตามระดับพ ัฒนาการท างสติป ัญญา
อีกวิธีหนึ่งคือการจัดประสบการณ์เกี่ยวกับสิ่งเหล่านี้ให้กับนักเรียน ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยให้นักเรียน
มีความสามารถในการอนุรักษ์ความยาวได้ เพราะฉะนั้นครูที่ต้องการสอนให้นักเรียนเข้าใจเรื่องการวัด
ความย าวอ ย่างแ ท้จรงิ จึงค วรจ ัดป ระสบการณเ์กี่ยวก ับก ารอ นุรกั ษค์ วามย าวใหแ้ กน่ กั เรียนห ากพ บว า่ น กั เรียน
ยังไม่มีความสามารถในการอนุรักษ์ความยาว แต่ประสบการณ์ที่จัดให้นักเรียนนั้นควรสร้างความสนใจให้
กับนักเรียนด ้วย เช่น การใช้ส ื่อสามมิติที่ม ีสีสัน การให้น ักเรียนได้ลงมือป ฏิบัติและอ ธิบายสิ่งที่ต นเองค ้นพ บ
กจิ กรรมท่ี 2 การอ นรุ กั ษ์ความยาวของสว่ นยอ่ ย
วัตถุประสงค์ เพื่อส ำ�รวจค วามสามารถของนักเรียนในการอนุรักษ์ความยาวข องส่วนย ่อย
อุปกรณ์ ไม้ข ีด หรือตะเกียบ
วิธีก าร น ำ�ไม้ขีด หรือตะเกียบม าวางเรียงต ่อก ันในแ นวตรงส องแนว เพื่อให้น ักเรียนเปรียบเทียบจ น
นักเรียนย อมรับว ่าค วามย าวข องทั้งส องแนวเท่าก ัน จากน ั้นจึงห ันไม้ขีด หรือตะเกียบบ างอัน
ของแนวใดแ นวห นึ่งไม่ให้อ ยู่ในแ นวตรง ให้นักเรียนเปรียบเทียบความยาวที่เกิดข ึ้นใหม่หลัง
จากเปลีย่ นร ปู ก บั ค วามย าวข องแ บบท ไี่ มไ่ ดเ้ ปลีย่ นร ปู ดงั ต วั อยา่ งในภ าพท แี่ สดงก ารเปลีย่ นร ปู
ของแ นวที่อยู่ทางขวาท ั้งส ามครั้ง แต่ละครั้งให้เปรียบเทียบความย าวกับแ นวท ี่อยู่ท างซ ้าย
เปลี่ยนครั้งที่ 1 เปลี่ยนครั้งที่ 2 เปลี่ยนครั้งที่ 3
กจิ กรรมท ี่ 2 เปน็ การส ำ�รวจค วามส ามารถในก ารอ นรุ กั ษค์ วามย าวข องส ว่ นย อ่ ย การจ ดั ป ระสบการณ์
เกี่ยวกับการอนุรักษ์ความยาวของส่วนย่อยให้แก่นักเรียนย่อมมีส่วนส่งเสริมให้นักเรียนที่ยังไม่มี
ความส ามารถในก ารอ นุรักษ์ความย าวของส ่วนย ่อยมีค วามสามารถได้