Page 25 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 25

การจ​ ัดป​ ระสบการณ์ก​ าร​เรียน​รู้เ​กี่ยว​กับ​การว​ ัด 6-15

เร่ืองท​ ่ี 6.1.3	 การว​ ัดใ​น​หลกั สตู ร​คณิตศาสตร์​ระดบั ​ประถม​ศึกษา​
	 และม​ ัธยมศึกษาต​ อน​ต้น

       สาระ​การ​เรียน​รู้​คณิตศาสตร์ ตาม​หลักสูตร​แกน​กลาง​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน พุทธศักราช 2551
ประกอบ​ด้วย 5 สาระ ได้แก่ 1) จำ�นวน​และ​การด​ ำ�เนิน​การ 2) การ​วัด 3) เรขาคณิต 4) พีชคณิต และ 5) การ​
วิเคราะหข์​ ้อมูลแ​ ละค​ วามน​ ่าจ​ ะเ​ป็น จะเ​ห็นว​ ่าการว​ ัดน​ ับเ​ป็นเ​นื้อหาห​ นึ่งท​ ีม่​ คี​ วามส​ ำ�คัญแ​ ละถ​ ือเ​ป็นเ​นื้อหาห​ ลัก​
ใน​หลักสูตร​คณิตศาสตร์​ปัจจุบัน เมื่อ​พิจารณา​เนื้อหา​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​สาระ​การ​วัด​จะ​พบ​ว่า​ประกอบ​ด้วย
การ​วัด​ความ​ยาว​และ​ระยะ​ทาง การ​วัด​พื้นที่ การ​วัด​นํ้า​หนัก (การ​ชั่ง) การ​วัด​ปริมาตร​และ​ความ​จุ (การ​ตวง​
และก​ ารห​ า​ปริมาตร) มาตราส่วน ทิศ และแ​ ผนผัง การว​ ัดเ​วลาแ​ ละค​ ่าข​ องเ​งิน หน่วย​การว​ ัดร​ ะบบ​ต่างๆ การ​
คาด​คะเน​เกี่ยว​กับ​การ​วัด โดย​ใน​หลักสูตร​จะ​เน้น​ทั้ง​ความ​เข้าใจ​พื้น​ฐาน​เกี่ยว​กับ​การ​วัด ทักษะ​ใน​การ​วัด​
และ​การ​คาด​คะเน​ขนาด​ของ​สิ่งของ​ที่​ต้องการ​วัด รวม​ทั้ง​การ​แก้​ปัญหา​เกี่ยว​กับ​การ​วัด และ​การนำ�ค​ วาม​รู้​
เกี่ยว​กับ​การว​ ัดไ​ป​ใช้ใ​นส​ ถานการณ์​ต่างๆ

       เมื่อ​วิเคราะห์​เนื้อหา​ที่​ปรากฏ​อยู่​ใน​หลักสูตร​ระดับ​ประถม​ศึกษา​และ​มัธยมศึกษา​ตอน​ต้น พบ​ว่า
​ใน​ชั้น​ประถม​ศึกษา​ปี​ที่ 1 จะ​เรียน​เฉพาะ​การ​วัด​ความ​ยาว​และ​เวลา ซึ่ง​เป็น​เนื้อหา​เกี่ยว​กับ​การ​เปรียบ​เทียบ​
ความ​ยาวแ​ ละน​ ํ้า​หนักอ​ ย่างง​ ่ายๆ บอกช​ ่วงเ​วลา​และว​ ันใ​น​สัปดาห์ไ​ด้ และพ​ บว​ ่า​เรื่อง​การ​เขียน​แผนผัง​มีเ​รียน​
เฉพาะ​ใน​ชั้น​ประถม​ศึกษา​ปี​ที่ 6 เท่านั้น ส่วน​เรื่อง​ปริมาตร​เริ่ม​เรียน​ใน​ชั้น​ประถม​ศึกษา​ปี​ที่ 6 นอกจาก​นี้​
ยัง​พบว​ ่าใ​น​ระดับ​มัธยมศึกษาต​ อนต​ ้นจ​ ะเ​น้น​การ​คำ�นวณแ​ ละ​การ​แก้ป​ ัญหาใ​นส​ ถานการณ์​ต่างๆ

       การ​บอก​ความ​สัมพันธ์​ของ​หน่วย​การ​วัด​เป็น​เรื่อง​ที่​ยาก​สำ�หรับ​เด็ก​เล็ก ใน​หลักสูตร​แกน​กลาง​
การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน พุทธศักราช 2551 จึง​ให้​เริ่ม​เรียน​ความ​สัมพันธ์​ของ​หน่วย​การ​วัด​ใน​ชั้น​ประถม​ศึกษา​
ปี​ที่ 4 ซึ่ง​ในการ​วัด​สิ่ง​ต่างๆ บาง​ครั้ง​จำ�เป็น​ต้อง​ใช้​หน่วย​การ​วัด​ที่​แตก​ต่าง​กัน เพื่อ​เป็นการ​สร้าง​ความ​เข้าใจ
​เกี่ยว​กับ​หน่วย​การ​วัด​ที่​แตก​ต่าง​กัน ใน​หลักสูตร​จึง​เริ่ม​จาก​การ​เปรียบ​เทียบ​ความยาว การ​วัด​เชิง​เส้น การ​
เปรียบ​เทียบ​นํ้า​หนัก การ​ชั่ง​โดย​ใช้​หน่วย​ที่​ไม่ใช่​หน่วย​มาตรฐาน การ​เปรียบ​เทียบ​ปริมาตร​และ​ความ​จุ การ​
ตวง​โดย​ใช้​หน่วย​ที่​ไม่ใช่​หน่วย​มาตรฐาน หลัง​จาก​นั้น​จึง​ให้​นักเรียน​เลือก​เครื่อง​มือ​วัด​ที่​เหมาะ​สม แล้ว​จึง​
เริ่มเ​รียนก​ าร​หาพ​ ื้นที่ข​ องร​ ูปส​ ี่เหลี่ยม​มุมฉากใ​นช​ ั้น​ประถมศ​ ึกษา​ปี​ที่ 4

       เมื่อศ​ ึกษา​เกี่ยว​กับห​ น่วยก​ ารช​ ั่ง ตวง วัด ที่​ปรากฏใ​นห​ ลักสูตรร​ ะดับ​ประถม​ศึกษา​และม​ ัธยมศึกษา​
ตอน​ต้น พบ​ว่า​หน่วย​การ​วัด​จะ​แปร​เปลี่ยน​ไป​ตาม​ระดับ​ชั้น​โดย​เริ่ม​จาก​การ​วัด​โดย​ใช้​หน่วย​ที่​ไม่ใช่​หน่วย​
มาตรฐานก​ ่อน​แล้ว​จึง​ตามด​ ้วย​การว​ ัดท​ ี่เ​ป็น​มาตรฐาน ในช​ ั้น​ประถมศ​ ึกษาป​ ีท​ ี่ 1 จะเ​รียน​การ​วัด​ที่ไ​ม่ใช่​หน่วย​
มาตรฐาน ตั้งแต่​ชั้น​ประถม​ศึกษา​ปี​ที่ 2 ขึ้น​ไป​จะ​เริ่ม​ใช้​หน่วย​การ​วัด​ที่​เป็น​มาตรฐาน​และ​ขยาย​หน่วย​เพิ่ม​
ให้​ละเอียด​ขึ้น​ใน​ชั้น​ที่​สูง​ขึ้น​ไป ใน​หลักสูตร​ยัง​สะท้อน​ให้​เห็น​หน่วย​การ​ชั่ง ตวง วัด ที่​ใช้​อยู่​ใน​ประเทศไทย​
เป็นการ​ผสมผ​ สานร​ ะหว่างร​ ะบบ​หน่วยก​ ารว​ ัด​แบบ​เมตริก ระบบห​ น่วย​การว​ ัด​แบบอ​ ังกฤษ และร​ ะบบห​ น่วย​
การ​วัดแ​ บบไ​ทย ดังแ​ สดง​ให้​เห็น​ในต​ าราง​ที่ 6.8
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30