Page 21 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 21

การ​จัดป​ ระสบการณ์ก​ ารเ​รียนร​ ู้​เกี่ยว​กับก​ าร​วัด 6-11

ในป​ ระเทศฝ​ รั่งเศส​และม​ องต์ จูอ​ ี (Mont-Jouy) ซึ่ง​อยู่​ใกล้​เมือง​บาร์เ​ซ​โลนา​ (Barcelona) ใน​ประเทศส​ เปน
และไ​ด้​สร้างแ​ ท่ง​โลหะแ​ ทนค​ วาม​ยาว​ดังก​ ล่าว​ไว้ แท่งโ​ลหะ​นี้​สร้างเ​สร็จ​เมื่อ ค.ศ. 1799

       ด้านก​ ารว​ ัดน​ ํ้าห​ นักใ​นร​ ะบบเ​มตริกน​ ีใ้​ช้ “กรัม” เป็นห​ น่วยห​ ลัก โดยก​ ำ�หนดใ​ห้ 1 กรัม คือน​ ํ้าห​ นักข​ อง​
นํ้าก​ ลั่น 1 ลูกบาศก์เ​ซนติเมตรช​ ั่งใ​นส​ ุญญ​ าก​ าศท​ ี่อ​ ุณหภูมิ 4๐C (อุณหภูมิท​ ี่น​ ํ้าม​ ีค​ วามห​ นาแ​ น่นส​ ูงสุด) และไ​ด​้
สร้าง​แท่ง​ทองคำ�ขาว​รูป​ทรงก​ ระบอกแ​ ทนน​ ํ้าห​ นัก 1 กิโลกรัม​มาตรฐาน ในด​ ้านก​ ารว​ ัด​ความจ​ ุห​ รือป​ ริมาตร ใช้​
หน่วย​วัดเ​ป็น “ลิตร” ซึ่ง​กำ�หนดใ​ห้เ​ท่ากับห​ นึ่งพ​ ันล​ ูกบาศก์เ​ซนติเมตรห​ รือ​หนึ่งใ​นพ​ ันข​ อง​หนึ่ง​ลูกบาศก์เ​มตร
หน่วยอ​ ื่นๆ ในร​ ะบบเ​มตริก​ยึดห​ น่วย​ทั้ง​สาม​นี้ค​ ือ เมตร กรัม​และ​ลิตร​เป็นห​ ลัก โดยเ​ติมค​ ำ�อ​ ุปสรรค (Prefix)
ภาษาล​ ะตินส​ ำ�หรับห​ น่วย​ย่อย เช่น เดซิ (Deci) เซน​ติ (Centi) มิลลิ (Milli) และ​เติม​คำ�อ​ ุปสรรคภ​ าษาก​ รีก​
สำ�หรับ​หน่วยใ​หญ่ เช่น เดคา (Deca) เฮกโ​ต (Hecto) กิโล (Kilo) ดังร​ ายล​ ะเอียดใ​น​ตาราง​ที่ 6.1

               ตารางท​ ่ี​6.1 คำ�อ​ ปุ สรรค​และ​ความห​ มายข​ องค​ �ำ อ​ ปุ สรรค​ท​่ีใชใ้​นร​ ะบบเ​มตรกิ

 คำ�อุปสรรค    ความหมาย
                       10 หรือ 101
deca                 100 หรือ 102
hecto
kilo                1,000 หรือ 103
mega            1,000,000 หรือ 106
giga         1,000,000,000 หรือ 109

 คำ�อุปสรรค         ความหมาย
             1,000,000,000,000 หรือ 1012
tera
deci                         หรือ 10-1
centi                        หรือ 10-2
milli                   0.001 หรือ 10-3
micro                0.000001 หรือ 10-6
nano              0.000000001 หรือ 10-9
pico          0.000000000001 หรือ 10-12

       จากก​ ารท​ ราบค​ วามห​ มายข​ องค​ ำ�อ​ ปุ สรรคย​ อ่ มช​ ว่ ยใ​หส​้ ามารถบ​ อกค​ า่ ข​ องห​ นว่ ยก​ ารว​ ดั ใ​หส้​ มั พนั ธก์​ บั ​
หน่วยห​ ลักไ​ด้ เช่น 1 กิโลกรัม ย่อม​หนักเ​ป็น 103 เท่าข​ อง 1 กรัม หรือ 1 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 กรัม เป็นต้น
ตาราง​ที่​ 6.2–6.4 แสดง​ความส​ ัมพันธ์ร​ ะหว่างห​ น่วยก​ ารว​ ัดบ​ าง​หน่วยใ​นร​ ะบบเ​มตริก
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26