Page 91 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 91

การ​จัด​ประสบการณ์ก​ ารเ​รียน​รู้เ​กี่ยวก​ ับ​การ​วัด 6-81

       10.		การ​สอน​การ​วัด​เวลา​โดย​ใช้​นาฬิกา ควร​ชี้​ให้​นักเรียน​เห็น​ความ​จำ�กัด​ของ​เวลา​ที่​วัด​ได้​โดย​ใช้​
นาฬิกาว​ ่า วัด​ได้​เพียง 12 ชั่วโมง นาฬิกาจ​ ึงเ​ป็นเ​ครื่องม​ ือท​ ี่​เหมาะส​ มใน​การ​วัด​เวลาช​ ่วง​สั้น แล้วใ​ห้​นักเรียน​
อภิปราย​เกี่ยวก​ ับเ​ครื่องม​ ือ​วัดเ​วลา​ชนิดอ​ ื่น ซึ่ง​เหมาะส​ ำ�หรับว​ ัดเ​วลาช​ ่วง​ยาว ซึ่งไ​ด้แก่ป​ ฏิทิน

       11.		การ​สอน​การ​วัด​เวลา​ช่วง​นาน​เป็น​ปี เดือน สัปดาห์ วัน ควร​ใช้​การ​เปรียบ​เทียบ​กับ​เหตุการณ์
เพื่อใ​ห้​ช่วงเ​วลา​เหล่าน​ ั้นม​ ีค​ วาม​หมาย​กับต​ ัวเ​ด็ก เช่น ช่วงเ​วลา​เป็นป​ ี ได้แก่ จาก​วันเ​ปิดเ​รียนช​ ั้น​ประถม​ศึกษา​
ปีท​ ี่ 1 จนถึง​วัน​เปิดเ​รียน​ชั้นป​ ระถม​ศึกษา​ปี​ที่ 2 (ใน​กรณี​ที่​เปิด​เรียน​วันเ​ดียวกัน) จากว​ ัน​เกิดต​ อน​อายุ 7 ขวบ
จนถึง​วันเ​กิด​ตอน​อายุ 8 ขวบ จาก​วัน​ปี​ใหม่ถ​ ึง​วันป​ ี​ใหม่อ​ ีกป​ ี​หนึ่ง เป็นต้น ช่วงเ​วลา​เป็นเ​ดือน เช่น จาก​การ​ชั่ง​
นํ้าห​ นัก​ครั้ง​ที่แ​ ล้ว​ถึง​การ​ชั่ง​นํ้าห​ นัก​ครั้ง​นี้ (ใน​กรณี​ที่โ​รงเรียน​ชั่งน​ ํ้า​หนัก​ทุก​เดือน) ช่วง​เวลา​เป็น​สัปดาห์ เช่น
จากก​ ารเ​รยี นว​ ชิ าพ​ ลศกึ ษาค​ รัง้ ท​ แี​่ ลว้ ถ​ งึ ก​ ารเ​รยี นพ​ ลศกึ ษาค​ รัง้ น​ ี้ (ในก​ รณท​ี นี​่ กั เรยี นเ​รยี นว​ ชิ าพ​ ลศกึ ษาส​ ปั ดาห​์
ละ​ครั้ง) ช่วงเ​วลาเ​ป็น​วัน เช่น จากก​ าร​ตื่นน​ อน​ตอน​เช้า​ถึง​การต​ ื่น​นอน​ตอนเ​ช้าข​ อง​อีก​วันห​ นึ่ง เป็นต้น

       12.		กิจกรรมเ​กี่ยวก​ ับก​ ารบ​ ันทึกพ​ ฤติกรรมต​ ามเ​วลาช​ ่วงต​ ่างๆ ช่วยส​ ่งเ​สริมค​ วามเ​ข้าใจเ​รื่องเ​วลาไ​ด​้
เป็นอ​ ย่างด​ ี

       13.		การ​สอน​การ​วัดเ​วลาค​ วร​ส่ง​เสริม​และฝ​ ึกฝน​ให้น​ ักเรียน​มีค​ วามส​ ามารถ​ใน​การค​ าด​คะเน​เวลา

       ตัวอย่างก​ ิจกรรมก​ าร​สอน

                                 กิจกรรม​ท่ี 1 การอ​ นรุ กั ษ์เ​วลา

  วัตถุประสงค์ 	 เพื่อเ​สริมป​ ระสบการณ์ด​ ้าน​การอ​ นุรักษ์​เวลา​ให้​กับ​นักเรียน
  อุปกรณ์	 ผ้าเช็ดหน้า
  วิธีก​ าร 	 1.	 ให้​นักเรียน 2 คน ออกม​ าย​ ืน​คู่​กันห​ น้า​ชั้น
  	 2.	 ค รูอ​ ธิบายใ​ห้น​ ักเรียนท​ ราบว​ ่าค​ รูข​ อใ​ห้น​ ักเรียนท​ ั้งส​ องเ​ดินม​ าห​ าค​ รูพ​ ร้อมๆ กัน โดยค​ รูจ​ ะ​

                  เป็น​ผู้​ให้ส​ ัญญาณ​เริ่มต​ ้น​และห​ ยุดโ​ดยก​ ารโ​บก​ผ้าเช็ดหน้า
  	 3.	 เมื่อ​การ​เดิน​สิ้น​สุดล​ ง อภิปราย​ซักถ​ ามน​ ักเรียนเ​กี่ยว​กับก​ ารเ​ดิน ซึ่ง​ครู​สามารถค​ าด​หมาย​

                  คำ�ต​ อบ​ได้​ว่าน​ ักเรียน​จะต​ ้องต​ อบอ​ อกม​ า​ว่า​ออกเ​ดิน​พร้อมก​ ันแ​ ละ​หยุด​พร้อม​กัน
  	 4.	 ล อง​ใหม่​โดย​ให้​เริ่ม​ออก​เดิน​พร้อม​กัน แต่​ให้​คน​หนึ่ง​พยายาม​เดิน​ให้​เร็ว​ที่สุด​เท่า​ที่​จะ​เดิน​

                  ได้ ส่วนอ​ ีกค​ นห​ นึ่งใ​ห้เ​ดินแ​ บบธ​ รรมดา เมื่อเ​ดินไ​ปไ​ด้ส​ ักค​ รู่ ครูบ​ อกส​ ัญญาณใ​ห้ห​ ยุดเ​ดิน
                  แล้วอ​ ภิปรายซ​ ัก​ถามน​ ักเรียนเ​กี่ยว​กับ​การ​เริ่มต​ ้น​ออก​เดินแ​ ละ​การห​ ยุดเ​ดิน

       จาก​กิจกรรม​ที่ 1 ครู​อาจ​พบ​ว่า​มี​นักเรียน​บาง​คน​ที่​ยัง​ไม่มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​อนุรักษ์​เวลา คือ​ยัง
​ไม่​ยอมรับ​ว่า​ใน​กรณี​หลัง ทั้ง​สอง​คน​หยุด​ใน​เวลา​เดียวกัน เพราะ​คน​หนึ่ง​เดิน​เร็ว​กว่า​และ​เดิน​ไป​ได้​ไกล​กว่า
ถ้าเ​ป็น​เช่น​นี้ค​ รูค​ วรจ​ ัด​กิจกรรมท​ ำ�นอง​นี้ห​ ลายๆ กิจกรรม เพื่อช​ ่วย​พัฒนาค​ วามส​ ามารถน​ ี้​ให้แ​ ก่น​ ักเรียน
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96