Page 86 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 86
6-76 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
พิเศษอ อกไปม ี 28 วันบ ้าง 29 วันบ้าง ใช้คำ� “อาพ ันธ์” ต่อท้ายเข้าไป คำ�ว ่า “อาพ ันธ์” เป็นภ าษาบ าลีเช่นก ัน
แปลว่า “ผูกพันห รือต ิดต่อ” รายล ะเอียดเกี่ยวกับเดือนส ุริยคติด ังแสดงในตารางท ี่ 6.7
ตารางที่ 6.7 รายล ะเอยี ดเกีย่ วกบั เดอื นสุรยิ คติ
ล�ำ ดบั ท่ขี องราศี ชื่อราศี รูปรา่ งสมมตขิ องกล่มุ ดาว ชื่อเดอื นสรุ ยิ คติ
1 เมษ แกะ เมษายน
2 พฤษภ โค พฤษภาคม
3 เมถุน คนคู่ (ชายหญิง) มิถุนายน
4 กรกฎ ปู กรกฎาคม
5 สิงห์ สีห์หรือสีหะ สิงหาคม
6 กันย์ หญิงสาวพรหมจารี กันยายน
7 ตุล ตราชูหรือคันชั่ง ตุลาคม
8 พฤศจิก แมงป่อง พฤศจิกายน
9 ธนู คนโก่งธนู ธันวาคม
10 มกร มังกร มกราคม
11 กุมภ์ คนกับหม้อนํ้า กุมภาพันธ์
12 มีน ปลาสองตัว มีนาคม
วัน หนังสือการรักษาเวลามาตรฐานของประเทศไทยของกรมอุทกศาสตร์อธิบายว่า วันสุริยคติ
คือเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบ โดยถือเอาดวงอาทิตย์เป็นหลัก ซึ่งหมายความว่า เมื่อเมริเดียนใด
เมริเดียนหนึ่งของโลกผ่านจุดศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ 2 ครั้ง เรียกว่าโลกหมุนหนึ่งรอบหรือหนึ่งวันจริง
ความน านข องว นั จ รงิ แ ตล่ ะว นั ไมเ่ ทา่ ก นั ท กุ ว นั ซ ง่ึ เปน็ เพราะก ารเคลอื่ นทขี่ องโลกร อบด วงอ าทติ ยไ์ มส่ มาํ่ เสมอก นั
และแกนโลกเอนทับเส้นทางโคจรปรากฏของดวงอาทิตย์ จึงได้กำ�หนดวันขึ้นใหม่เรียกว่า วันสมมติ ซึ่งมี
ความนานของแต่ละวันคงที่ เพื่อประโยชน์ในก ารส ร้างเครื่องมือส ำ�หรับว ัดเวลาซ ึ่งคือน าฬิกา
การเรียกชื่อว ันทั้ง 7 วันว ่า วันอ าทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ และเสาร์ เชื่อว ่าเรียกต าม
ชาวอินเดีย
การนับวันสมมติ ณ ที่ใดที่หนึ่งใช้เมริเดียนที่ผ่านสถานที่แห่งนั้นเป็นหลักและเวลาที่อ่านได้ก็จะ
เป็นเวลาของสถานที่แห่งนั้น เวลาท้องถิ่นที่บริเวณใดจึงเป็นเวลาซึ่งดวงอาทิตย์ ชี้บอกที่เมริเดียนนั้น เวลา
ชนิดน ี้จึงแตกต่างกันต ามลองจิจูดท ี่ต่างก ันบ นผ ิวโลก เวลาต่างก ัน 1 ชั่วโมงเท่ากับลองจิจูดต่างก ัน 15 องศา
หรือ 4 นาทีสำ�หรับทุกๆ 1 องศาลองจิจูด ดังนั้น เวลาของประเทศต่างๆ จึงแตกต่างกัน เพื่อให้เกิดความ
เข้าใจต รงก ันจึงได้ก ำ�หนดเวลาส ากล (Universal Time หรือ UT) ขึ้น โดยถ ือเอาเมร ิเดียนที่ผ่านเมืองก รีน ิช
ในประเทศอ ังกฤษเป็นห ลัก ประเทศใดที่อยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองก รีนิชจะมีเวลาเร็วกว่าที่เมืองกรีนิช