Page 85 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 85
การจัดป ระสบการณ์ก ารเรียนร ู้เกี่ยวก ับก ารวัด 6-75
สำ�หรับป ระเทศไทย นับท างจ ันทรคติ โดยตั้งต ้นปีใหม่ที่เดือนห ้า ขึ้นหนึ่งค ํ่า และเรียงล ำ�ดับเดือน
ต่อไปเป็นเดือนหก เจ็ด แปด เก้า สิบ สิบเอ็ด สิบสอง แล้วตามด้วยเดือนอ้าย เดือนยี่ เดือนสาม และ
เดือนสี่ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้บ ัญญัติให้ใช้เดือนทางส ุริยคติต ามแบบส ากล จึงได้ใช้ชื่อท ั้งสิบส องราศีมาตั้ง
เป็นชื่อเดือน เช่น เมษายน หมายความว ่า ดวงอาทิตย์ได้มาอยู่ในร าศีเมษ (มีรูปด าวน ักษัตรประจำ�ร าศีเป็น
รูปแ กะ) พฤษภาคม ดวงอ าทิตย์ได้ม าอ ยู่ในร าศีพ ฤษภ (รูปโค) เป็นต้น ลำ�ดับต่อไปตามนักษัตรป ระจำ�ร าศี
และให้ป ีใหม่ตั้งต ้นท ี่เดือนเมษายน
ศักราช ศักราชที่ปรากฏในปฏิทินของไทยได้แก่ พุทธศักราช (พ.ศ.) พุทธศักราชเป็นศักราชที่
พุทธศาสนิกชนกำ�หนดขึ้น โดยถือเอาปีที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานเป็นปีที่ 1 เมื่อคำ�นวณนับ
ตามจันทรคติ วันขึ้นปีใหม่จึงต รงกับว ันแ รม 1 คํ่า เดือน 6 ต่อม าในสมัยก รุงรัตนโกสินทร์ได้มีการต ั้งศักราช
รัตนโกสินทร์ศกขึ้นและได้กำ�หนดให้วันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันที่ 1 เมษายน ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอ ยู่ห ัว ทรงเปลี่ยนม าใช้พ ุทธศักราชแทนร ัตนโกสินทร์ศก แต่ยังคงใช้ว ันขึ้นป ีใหม่เป็นว ัน
ที่ 1 เมษายนเหมือนเดิม ต่อมาในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ได้เปลี่ยนมาใช้วันที่ 1
มกราคมเป็นว ันข ึ้นปีใหม่ โดยเริ่มต ั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พุทธศักราช 2484 เป็นต้นไป ทั้งนี้เพื่อให้เหมือน
อย่างนานาอ ารยประเทศท ั้งหลาย
การบอกศักราชในปฏิทินนอกจากจะบอกพุทธศักราชแล้ว ปฏิทินส่วนใหญ่ยังบอกคริสต์ศักราช
(ค.ศ.) ด้วย คริสต์ศักราชเป็นปีที่คริสต์ศาสนิกชนกำ�ห นดขึ้นโดยถือเอาปีประสูติของพระเยซูคริสต์เป็น
ปีท ี่ 1 พุทธศักราชม ากกว่าค ริสต์ศ ักราช 543 ปี เมื่อเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ. จึงต้องนำ� 543 บวก ถ้าเปลี่ยน
พ.ศ. เป็น ค.ศ. จึงต้องนำ� 543 ลบออก
ปีสุริยคติ คือระยะเวลาที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบมีระยะเวลานานเท่ากับ 365.24224
วัน แต่เนื่องจากก ารนับวันเป็นเศษไม่สะดวก ในการจ ัดท ำ�ป ฏิทินเกรกอเรียนจึงก ำ�หนดให้ปีหนึ่งม ี 365 วัน
ถ้วน เรียกว ่าปีปกติสุรทิน หรือป ีธ รรมดา และในป ีหนึ่งๆ กำ�หนดให้มี 12 เดือน เพื่อแ ก้เศษข องว ันที่หายไป
จึงกำ�หนดให้เพิ่มวันพิเศษขึ้นหนึ่งวันทุกสี่ปี ดังนั้น ในปีที่สี่จึงเรียกว่าปีอธิกสุรทิน ซึ่งมี 366 วัน วันที่เพิ่ม
เข้าไปน ี้ให้เพิ่มเข้าในเดือนกุมภาพันธ์ข องป ีคริสต์ศักราชท ี่ห ารด้วน 4 ลงตัว แต่เมื่อใช้ไป 400 ปี จะมีว ันเกิน
ความจ ริงไป 3,104 วัน ดังนั้น ทุกๆ 400 ปี จึงให้ง ดว ันพิเศษเสีย 3 วัน คือ ให้ง ดในป ีค ริสต์ศักราชท ี่ครบร้อย
ซึ่งห ารด ้วย 400 ไม่ล งตัว ตัวอย่างเช่น ปีค ริสต์ศ ักราชที่ครบร้อยท ี่จ ะถ ึงต ่อไปได้แก่ 2,000, 2,100, 2,200,
2,300, 2,400, … ปีเหล่านี้ต ้องเป็นปีอ ธิกสุรทินเพราะ 4 หารได้ล งตัว แต่เมื่อน ำ� 400 หาร ปรากฏว ่าป ีที่หาร
ไม่ลงตัวได้แก่ 2,100, 2,200, 2,300 ดังนั้นปีทั้งสามนี้จึงไม่นับเป็นปีอธิกสุรทิน อย่างไรก็ตามถึงแม้จะได้
พยายามแก้ไขด ้วยว ิธีก ารด ังก ล่าวแ ล้ว ก็ย ังป รากฏว ่าเมื่อใช้ป ฏิทินน ี้ไป 10,000 ปี เวลาก ็ย ังค งผ ิดอ ยู่อ ีก 3 วัน
เดือน คือเวลาท ี่ดวงจ ันทร์โคจรรอบโลกห นึ่งร อบ ปีส ุริยคติแ บ่งอ อกเป็น 12 เดือนต ามจักรราศี การ
เรียกช ื่อร าศเีรียกต ามช ื่อก ลุ่มด าว ซึ่งไดร้ ับก ารบ ัญญัตชิ ื่อต ามร ูปร ่างส มมตขิ องก ลุ่มด าวท ีเ่รียงร ายก ันอ ยูเ่ป็น
รูปต ่างๆ แล้วนำ�ช ื่อร าศีเหล่านั้นมาตั้งเป็นช ื่อเดือนส ุริยคติ โดยนำ�ค ำ�ว ่า “อายน” หรือ “อาคม” ต่อท ้าย เพื่อ
ให้เป็นเครื่องสังเกตได้ง่ายว ่า ถ้าเดือนใดล งท้ายด้วย “ยน” เดือนน ั้นม ี 30 วัน ส่วนเดือนท ี่ลงท้ายด้วย “คม”
จะมี 31 วัน คำ�ว ่า “อายน” หรือ “อาคม” นี้เป็นภาษาบ าลีท ั้งสองคำ� แปลว่า “การม าถึง” ส่วนอีกเดือนห นึ่งซ ึ่ง