Page 88 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 88
6-78 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
นาฬิกาแดด นาฬิกาทราย นาฬิกานํ้า
ภาพที่ 6.22 นาฬกิ าแ บบต า่ งๆ
ที่มา: ศ ัลวิธานนิเทศและเพิ่มศักดิ์ เวชชานุเคราะห์ (2538) สารานุกรมไทยสำ�หรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว เล่ม 2 หน้า 35
ระบบห น่วยเวลา ตามมาตรฐานสากล มาตราเวลาเป็นด ังนี้
1 ปี มี 365 วัน หรือ 366 วันในปีอ ธิกสุรทิน
1 วัน ม ี 24 ชั่วโมง
1 ชั่วโมง มี 60 นาที
1 นาที มี 60 วินาที
หน่วยวินาทีที่ได้รับการรับรองว่าเป็นมาตรฐานเวลาที่ถูกต้องที่สุดในปัจจุบัน ได้แก่ เวลาอะตอม
(Atomic Time) ซึ่งเป็นผ ลม าจ ากก ารท ดลองร ่วมก ันร ะหว่างห อว ิทยาศาสตร์แ ห่งช าติท ี่เทค ดิงต ันในอ ังกฤษ
และหอดูดาวของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา โดยกำ�หนดให้เวลา 1 วินาที เท่ากับการสั่นสะเทือนจำ�นวน
9,192,631,770 รอบ ของอะตอมธ าตุซีเซียม 133 เวลาอะตอม ได้รับการรับรองว ่าเป็นมาตรฐานเวลาที่ถูก
ต้องท ี่สุดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507
การบ อกเวลาของไทยกำ�หนดให้วันหนึ่งม ี 24 ชั่วโมง ตามมาตรฐานสากล โดยแบ่งเป็นกล างวัน 12
ชั่วโมง และก ลางค ืน 12 ชั่วโมง การน ับว ันเริ่มต ั้งแตด่ วงอ าทิตยข์ ึ้นไปแ ละส ิ้นส ุดเอาเมื่อด วงอ าทิตยข์ ึ้นอ ีกค รั้ง
หนึ่ง การบ อกเวลากลางว ันใช้คำ�ว ่า “โมง” และก ลางค ืนใช้คำ�ว ่า “ทุ่ม” คำ�ว ่า “โมง” และ “ทุ่ม” มาจากเสียง
ฆ้องและกลองที่ใช้ตีบอกเวลาในสมัยโบราณ และถึงแม้ในปัจจุบันจะเลิกใช้การตีฆ้องและกลองบอกเวลา
แต่ย ังค งใช้คำ�ว ่า “โมง” และ “ทุ่ม” สำ�หรับบ อกเวลาอ ยู่
สถาบันรักษาเวลามาตรฐาน
ประเทศไทยเราม ีก ารร ักษาเวลามาตรฐานเป็นท างการมาต ั้งแต่ พ.ศ. 2462 ตามพระร าชก ฤษฎีกา ลง
วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2462 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวท รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้เวลา
อัตราประเทศไทย 7 ชั่วโมง ก่อนเวลาเมืองกรีนิชทั่วพระราชอาณาเขต ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2462