Page 90 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 90

6-80 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์

      3.	 การส​ อนเ​วลาค​ วรจ​ ัดป​ ระสบการณ์​ให้ม​ ีก​ ารเ​ปรียบเ​ทียบเ​วลาโ​ดย​ยัง​ไม่ต​ ้องใ​ช้ห​ น่วยก​ ารว​ ัด​ก่อน

คือ​  ให้​นำ�เ​หตุการณ์​มา​เปรียบ​เทียบ​กัน​โดยตรง เพื่อ​ดู​ว่า​เหตุการณ์​ใด​ใช้​เวลา​มาก​น้อย​กว่า​กัน เช่น ให้​เด็ก​

สองค​ นก​ ลัดก​ ระดุมเ​สื้อแ​ ล้วด​ วู​ ่าใ​ครใ​ชเ้​วลาม​ ากน​ ้อยก​ ว่าก​ ัน ใหน้​ ักเรียนเ​ปรียบเ​ทียบเ​วลาท​ ีใ่​ชใ้​นก​ ารแ​ ปรงฟ​ ัน

​และอ​ าบน​ ํ้า เป็นต้น

      4.	 การส​ อนก​ ารว​ ดั เ​วลาค​ วรใ​ชก​้ จิ กรรมป​ ระเภทท​ ใี​่ หน​้ กั เรยี นไ​ดส​้ มั ผสั ก​ บั เ​วลาจ​ รงิ ๆ จดั ใ​หม​้ ก​ี จิ กรรม​

ที่​หลาก​หลาย มี​กิจกรรม​กลุ่ม​ย่อย​เพื่อ​พัฒนา​ให้​นักเรียน​เกิด​ความ​เข้าใจ​อย่าง​แท้จริง โดย​เริ่ม​พัฒนา​ความ

ร​ ู้สึกเ​กี่ยวก​ ับห​ น่วยข​ อง​เวลา​ให้​กับ​นักเรียน เช่น​ ให้​นักเรียน​หลับตา​เป็น​เวลา 1 นาที เพื่อใ​ห้​รู้จักเ​วลา 1 นาที

ว่า​นาน​เท่าใดแ​ ละ​ให้น​ ักเรียนอ​ ภิปราย​ถึง​ความ​เข้าใจเ​ฉพาะบ​ ุคคล หลังจ​ าก​นั้น​จึงแ​ นะนำ�ช​ ่วงเ​วลา 5, 10, 15

และ 30 นาทีใ​ห้ก​ ะ​ประมาณเ​วลาจ​ าก​การ​ทำ�งาน​ต่างๆ และ​วาด​รูป​นาฬิกา​ตามช​ ่วง​กิจกรรมต​ ่างๆ

      5.	 การส​ อนว​ ิธีว​ ัดเ​วลา ควรใ​ช้ก​ ิจกรรมท​ ี่ช​ ่วยใ​ห้น​ ักเรียนเ​กิดแ​ นวคิดว​ ่าเ​หตุการณ์ใ​ดก​ ็ตามท​ ี่เ​กิดข​ ึ้น​

สมํ่าเสมอย​ ่อมส​ ามารถน​ ำ�ม​ าใ​ช้เ​ป็นว​ ิธีว​ ัดไ​ด้ เช่น ถ้าเ​ราใ​ช้น​ ิ้วเ​คาะโ​ต๊ะเ​ป็นจ​ ังหวะส​ มํ่าเสมอ เราก​ ็ส​ ามารถน​ ำ�ว​ ิธ​ี

เคาะ​โต๊ะม​ า​เป็น​วิธี​วัด​ได้ ครู​ควร​เปิดโ​อกาส​ให้​นักเรียน​คิดห​ า​วิธี​วัดแ​ บบต​ ่างๆ แล้ว​เปรียบเ​ทียบ​กันด​ ูว​ ่าว​ ิธีใ​ด​

ใช้ได้​ดี​กว่า​กัน และ​ควร​ให้​นักเรียน​ได้​ศึกษา​วิธี​วัด​ที่​คน​โบราณ​เคย​ใช้ ได้แก่​วิธี​วัด​โดย​ใช้​การ​ไหล​ของ​นํ้า​หรือ​

ทรายผ​ ่านร​ ูเ​ล็กๆ หรือใ​ช้​ตำ�แหน่งข​ องเ​งา​ที่เ​กิดจ​ ากก​ าร​เคลื่อนที่ข​ อง​ดวง​อาทิตย์​ไปใ​น​เวลา​ต่างก​ ัน เป็นต้น

      6.	 การ​สอน​วิธี​วัด​เวลา​โดย​ใช้​นาฬิกา ควร​เริ่ม​จาก​การ​ให้​นักเรียน​สังเกต​ความ​สมํ่าเสมอ​ใน​การ​

เคลื่อนที่ข​ อง​เข็ม​วินาที ซึ่ง​อาจ​ทำ�ได้โ​ดย​การ​ใช้​นิ้ว​เคาะ​โต๊ะต​ าม​จังหวะ​การเ​คลื่อนที่ข​ อง​เข็มว​ ินาที และ​เพื่อใ​ห​้

นักเรียน​เข้าใจว​ ่าห​ น้า​ปัดน​ าฬิกาม​ ีก​ าร​แบ่ง​ออกเ​ป็น​ส่วน​เท่าๆ กัน ครูอ​ าจ​ใช้ว​ ิธีใ​ห้น​ ักเรียนเ​ปรียบ​เทียบจ​ ำ�นวน​

ครั้งข​ อง การ​เคาะโ​ต๊ะ​เมื่อเ​ข็ม​วินาทีผ​ ่านเ​ลข​ต่างๆ ไป เช่น จาก 12 ไป 1 จาก 1 ไป 2 จาก 2 ไป 3 เป็นต้น ด้วย​

วิธี​นี้​จะ​ช่วย​ให้​นักเรียน​ได้​สัมผัส​กับ​ความ​นาน​ของ​เวลา​เป็น​วินาที หรือ​อาจ​จะ​ให้​นักเรียน​คิด​กิจกรรม​ขึ้น​เอง

เช่น วัดเ​วลาท​ ี่ใ​ช้​เมื่อเ​ดินจ​ าก​โต๊ะ​ของน​ ักเรียนม​ า​ที่​โต๊ะค​ รู วัดเ​วลา​ที่ใ​ช้​เมื่อเ​ขียน​ตัวเลข 1–10 เป็นต้น

      7.	 การ​สอน​การ​บอก​เวลา​ควร​เริ่ม​จาก​การ​บอก​เวลา​โดย​ใช้​ภาษา​พูด​จน​คล่อง แล้ว​จึง​หัด​บอก​เวลา​

โดยใ​ช้ภ​ าษาเ​ขียน

      8.	 การ​สอน​ประสบการณ์​เริ่ม​ต้น​ใน​การ​บอก​เวลา ควร​เริ่ม​จาก​เวลา​เป็น​ชั่วโมง เช่น 2 นาฬิกา

5 นาฬิกา ให้​นักเรียน​เข้าใจ​ว่า​เข็ม​ยาว​เดิน​ไป 1 รอบ​จะ​เท่ากับ​เข็ม​สั้น​เดิน​จาก​ตัวเลข​หนึ่ง​ไป​ยัง​ตัวเลข​ถัด​ไป

ครูส​ าธิต​โดย​ใช้น​ าฬิกา​จริง ให้น​ ักเรียนล​ ำ�ดับ​เวลาส​ ำ�หรับ​กิจกรรมต​ ่างๆ และว​ าดร​ ูปน​ าฬิกา​ตาม​ช่วง​กิจกรรม​
หตล่างังๆ​จาหกล​นังับ​จ​เวากล​นา​ทั้นี​ล​ฝะึก5​บอนกา​เทวี​แลลา​ค้วรคึ่งว​ชรั่ว​รโมู้จักง​นแาลฬะิกา14​ที่​แชสั่วดโมงง​วง(น1อ5กน​เปาท็นี)​นหาทลี ังท​จุกากๆ​น5ั้น​ฝนึกาท​นี​ทับำ​เ�ก​วิจลกา​ทรรี​ลมะ​ซ5ํ้า
                                                                                                                                                                                                          นาที
                                                                                                                                                                                                          และ​

ควร​นำ�ต​ ัวเลข​ใน​วงนอกอ​ อก​แล้วจ​ ึง​ฝึก​การ​บอกเ​วลา​ที่ล​ ะเอียดข​ ึ้น ใน​ขั้น​นี้​นักเรียนค​ วร​สังเกต​ว่า มี​ช่อง​แบ่ง

5 ช่อง ในท​ ุกๆ ช่วงต​ ัวเลข​บนห​ น้า​ปัด จึง​สามารถ​ฝึกบ​ อกต​ ำ�แหน่งท​ ี่​ละเอียดไ​ด้ เช่น 8 : 07 เชื่อมโ​ยงก​ ารบ​ อก​

เวลา​ไป​สู่ก​ าร​เขียนจ​ าก​นาฬิกา digital เช่น 8 : 20 อ่าน​ว่า 8 นาฬิกา 20 นาที

      9.	 การส​ อนค​ วามส​ ัมพันธ์​ของห​ น่วยเ​วลาท​ ี่ว​ ัดด​ ้วยน​ าฬิกา ได้แก่ วินาที นาที ชั่วโมง ควรใ​ห้น​ ักเรียน​

สังเกต​การ​เคลื่อนที่​ของ​เข็ม​นาฬิกา​จริง เมื่อ​มอง​เห็น​ความ​สัมพันธ์​แล้ว​จึง​ใช้​นาฬิกา​จำ�ลอง​ฝึกฝน​ให้​แม่นยำ�​

ขึ้น
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95