Page 94 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 94

6-84 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตาราง​ที่​การเ​ดินรถ​ไฟ กรุงเทพ – อุดรธานี

                                            กรงุ เทพ - อุดรธานี

สถานตี น้ ทาง  ถงึ สถานี  เวลาออกสถานีต้นทาง เวลาถงึ สถานี       ขบวนรถท่ี                         ชนดิ ของรถ
  กรุงเทพ      อุดรธานี                                             137                               เร็ว
  กรุงเทพ      อุดรธานี   06.00 น.          16.33 น.                 75
  กรุงเทพ      อุดรธานี                                             133                            ด่วนดีเซล
  กรุงเทพ      อุดรธานี   08.20 น.          17.45 น.                 69                               เร็ว
  กรุงเทพ      อุดรธานี                                              77                               เร็ว
                          18.30 น.          06.06 น.
                                                                                                   ด่วนดีเซล
                          20.45 น.          05.31 น.

                          20.00 น.          05.40 น.

               หลงั ​จาก​ศกึ ษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.6.2 แล้ว โปรด​ปฏบิ ตั กิ​ จิ กรรม 6.6.2
                      ในแ​ นวก​ าร​ศกึ ษาห​ น่วย​ท่ี 6 ตอนท​ ี่ 6.6 เรื่องท​ ี่ 6.6.2

เรือ่ ง​ท่ี 6.6.3 	แนวคิด​เกยี่ ว​กับเ​งิน​ตรา

       ระบบก​ ารซ​ ื้อข​ ายข​ องค​ นในส​ มัยโ​บราณเ​ริ่มต​ ้นจ​ ากก​ ารแ​ ลกเ​ปลี่ยนส​ ิ่งของเ​ครื่องใ​ชซ้​ ึ่งก​ ันแ​ ละก​ ันเ​พื่อ​
ให้​แต่ละฝ​ ่ายไ​ด้​สิ่งของต​ ามท​ ี่ต​ น​ต้องการ วิธี​การ​นี้​ทำ�ให้​มี​ความจ​ ำ�กัด​ใน​สิ่งของ​ที่​นำ�ม​ าแ​ ลก​เปลี่ยน​กันแ​ ละ​ยัง​
มี​ปัญหา​ด้าน​ความ​สะดวก​สบาย ความ​รวดเร็ว​และ​ความ​ยุติธรรม​ใน​การ​แลก​เปลี่ยน ต่อ​มา​คน​จึง​พยายาม​
แสวงหา​วิธี​การ​ใหม่​เพื่อ​แก้​ปัญหา​ดัง​กล่าว วิธี​การ​นี้​คือ การ​หา​สิ่งของ​มา​เป็น​สื่อ​กลาง​ใน​การ​แลก​เปลี่ยน ใน​
ระ​ยะ​แรกๆ สิ่งของ​ที่​นำ�ม​ า​ใช้​เป็น​สื่อ​กลาง​ของ​การ​แลก​เปลี่ยน​ได้แก่ สิ่ง​ที่​มี​ประโยชน์​ต่อ​การ​ดำ�รง​ชีวิต เช่น
ข้าว อาวุธ สัตว์เ​ลี้ยง เป็นต้น และ​นี่เอง​เป็น​จุดก​ ำ�เนิด​ของแ​ นวคิด​เกี่ยว​กับเ​งิน ซึ่งห​ มาย​ถึงอ​ ะไร​ก็ได้​อันเ​ป็นท​ ี่​
ยอมรับ​ของ​บุคคลใ​นการ​ใช้​เป็นส​ ื่อก​ ลางใ​น​การแ​ ลกเ​ปลี่ยน

       เนื่องจาก​สื่อ​กลาง​ใน​การ​แลก​เปลี่ยน​ดัง​กล่าว​ยัง​มี​ปัญหา​ด้าน​ความ​สะดวก​สบาย คน​จึง​แสวงหา​
สื่อก​ ลางแ​ บบอ​ ื่นท​ ี่ส​ ามารถใ​ช้ได้ส​ ะดวกส​ บายข​ ึ้น ในท​ ี่สุดจ​ ึงเ​ลือกใ​ช้ช​ ิ้นโ​ลหะด​ ้วยเ​หตุผลห​ ลายป​ ระการ ได้แก่
โลหะ​มี​ความ​คงทน​ไม่​สึกหรอ​ง่าย โลหะ​มี​หลาย​ชนิด​แต่ละ​ชนิด​มี​ค่า​ใน​ตัว​ของ​มัน​เอง และ​ยัง​คง​มี​ค่า​ตาม​
นํา้ ห​ นกั ด​ ว้ ย นอกจากน​ ชี​้ ิน้ โ​ลหะย​ งั ส​ ามารถท​ ำ�ใหเ​้ ปน็ ห​ นว่ ยท​ เี​่ ลก็ ล​ งไ​ด้ ชิน้ โ​ลหะท​ ีใ่​ชม้​ ร​ี ปู ร​ า่ งล​ กั ษณะแ​ ละข​ นาด​
แตกต​ ่างก​ ันอ​ อกไ​ป ที่ม​ ีร​ ูปร​ ่างล​ ักษณะก​ ลมแ​ บนแ​ บบเ​หรียญท​ ี่ใ​ช้ก​ ันอ​ ยู่ใ​นป​ ัจจุบันพ​ บว​ ่าม​ ีใ​ช้ก​ ันใ​นแ​ ถบเ​อเชีย​
ไมเนอร์ (Asia Minor) เมื่อ​ประมาณ 600 ปี​ก่อนค​ ริสต์​ศักราช นอกจาก​การใ​ช้เ​หรียญแ​ ล้ว ยัง​มี​ผู้​ค้น​พบว​ ่าม​ ี​
การใ​ช้ก​ ระดาษ​หรือ​ที่​เรียกว​ ่า​ธนบัตรเ​ป็น​สื่อ​กลางด​ ้วย โดยใ​น​ราว​ปีค​ ริสต์​ศักราช 1200 มี​ผู้​ค้นพ​ บ​ว่าจ​ ีน​เป็น​
ชาตแิ​ รกท​ ีเ่​ริ่มใ​ชธ้​ นบัตร แตจ่​ ะเ​ริ่มใ​ชม้​ าต​ ั้งแตเ่​มื่อไรไ​มป่​ รากฏ ต่อม​ าช​ าวอ​ าหรับไ​ดน้​ ำ�ธ​ นบัตรเ​ข้าไปใ​ชใ้​นย​ ุโรป​
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99