Page 87 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 87

การ​จัด​ประสบการณ์ก​ ารเ​รียนร​ ู้เ​กี่ยว​กับ​การว​ ัด 6-77

​เพราะ​เห็น​ดวง​อาทิตย์​ก่อน ส่วน​ประเทศ​ใด​ที่​อยู่​ทาง​ทิศ​ตะวัน​ตก​ของ​เมือง​กรี​นิ​ชก็​จะ​มี​เวลา​ช้า​กว่า​ที่​เมือง​
กรี​นิช และ​เนื่องจาก​ประเทศไทย​อยู่​ทาง​ทิศ​ตะวัน​ออก​ของ​เมือง​กรี​นิช เวลา​ของ​ประเทศไทย​จึง​เร็ว​กว่า​เวลา​
ของเ​มือง​กรี​นิช​อยู่ 7 ชั่วโมง

       เวลา  เวลาท​ ี่ด​ ี​ต้องม​ ี​คุณสมบัติต​ รง​กับธ​ รรมชาติ​และไ​ม่เ​ปลี่ยนแปลง กล่าวค​ ือ
            1.	ตรง​กับ​ธรรมชาติ ใน​ที่​นี้​หมาย​ถึงว่า​เรา​ใช้​ธรรมชาติ​อะไร​เป็น​หลัก​ที่​ตรง​กับ​ความ​เป็น​อยู่​

และ​ความต​ ้องการ​ของ​มนุษย์​และ​สังคม เช่น กลางว​ ันก​ ็ต​ ้องเ​ป็นกล​ างว​ ัน กลางค​ ืน​ก็ต​ ้องเ​ป็นกล​ างค​ ืน เวลาท​ ี่​
เหมาะ​สม​ที่สุดใ​นท​ ี่​นี้ คือ เวลาข​ องด​ วง​อาทิตย์​สมมติ ซึ่ง​ต่อ​ไป​จะ​ถือ​เป็น​เวลา​ตาม​ธรรมชาติ

            2.	ไมเ​่ ปลีย่ นแปลง หมายถ​ งึ คาบเ​วลาค​ งที่ ในส​ มยั ก​ อ่ นถ​ อื วา่ เวลาด​ วงอ​ าทติ ยส​์ มมติ เปน็ เ​วลา​
คงที่ท​ ี่สุด แต่จ​ ากอ​ ุปกรณ์ร​ ักษาเ​วลาม​ าตรฐานท​ ี่​คงที่ห​ รือน​ าฬิกาท​ ี่เ​ที่ยงต​ รงใ​นป​ ัจจุบัน สามารถต​ รวจพ​ บก​ าร​
เปลี่ยนแปลง เป็นผ​ ลใ​ห้เ​วลาด​ วงอ​ าทิตย์จ​ ริงเ​ปลี่ยนแปลง จึงส​ ่งผ​ ลใ​หเ้​วลาด​ วงอ​ าทิตย์ส​ มมติเ​ปลี่ยนแปลงไ​ป​
ด้วย เพราะ​เราใ​ช้ด​ วงอ​ าทิตย์​สมมติ​เป็น​หลัก

       ดัง​นั้น เวลา​ที่​ดี​ที่สุด​จะ​ต้อง​ตรง​กับ​ธรรมชาติ และ​จาก​อุปกรณ์​รักษา​เวลา​ที่​คงที่​และ​เที่ยง​ตรง ใน​
ปัจจุบันจ​ ึง​ต้องม​ ีก​ ารป​ รับ​แต่งเ​วลา ทั้งนี้​เพราะธ​ รรมชาติน​ ั้นเ​คลื่อนไหว

       นาฬิกา การ​วัด​เวลาโ​ดยก​ ารส​ ังเกต​ปรากฏการณ์ธ​ รรมชาติเ​ป็นการ​วัด​เวลา​ที่​มี​ความ​ยาวนานท​ ั้ง​สิ้น
แม้แต่ “วัน” ซึ่ง​เป็นห​ น่วยท​ ี่​สั้นท​ ี่สุด​ก็ย​ ังม​ ี​ความย​ าวนาน มนุษย์ม​ ีค​ วามต​ ้องการ​การว​ ัดท​ ี่ล​ ะเอียดไ​ป​กว่าน​ ั้น​
อีก จึง​คิดส​ ร้างเ​ครื่อง​มือ​สำ�หรับว​ ัดเ​วลา​ใน​แต่ละ​วันข​ ึ้นเ​รียก​ว่า “นาฬิกา”

       เชื่อ​กัน​ว่า​ชาว​อียิปต์​เป็น​ผู้​ริเริ่ม​ประดิษฐ์​นาฬิกา นาฬิกา​ชนิด​แรก​นี้​คือ​นาฬิกา​แดด​ซึ่ง​สร้าง​ขึ้น​โดย​
อาศัย​หลัก​การ​สังเกต​เหตุการณ์​ที่​เกิด​ขึ้น​สมํ่าเสมอ​เป็น​ประจำ�  กล่าว​คือ ​มนุษย์​สังเกต​เห็น​การ​เปลี่ยนแปลง​
ของ​เงา​เมื่อ​ดวง​อาทิตย์​เคลื่อน​ไป​อยู่​ตาม​ตำ�แหน่ง​ต่างๆ จึง​ทำ�เ​ครื่องหมาย​ไว้​บน​พื้น​ดิน​เพื่อ​แสดง​ตำ�แหน่ง​
ของ​เงา​ใน​เวลา​ต่างๆ กัน ต่อ​มา​ได้​มี​การ​ใช้​ท่อน​โลหะ​แทน​เงา​บน​พื้น​หิน​หรือ​พื้น​โลหะ​แทน ใน​ระยะ​เวลา
ใ​กลเ​้ คยี งก​ นั น​ ี้ มนษุ ยย​์ งั ร​ ูจ้ กั ใ​ชน​้ าฬกิ าท​ รายแ​ ละน​ าฬกิ าน​ ํา้ ซึง่ ส​ รา้ งข​ ึน้ โ​ดยอ​ าศยั อ​ ตั ราก​ ารไ​หลข​ องท​ รายแ​ ละน​ ํา้ ​
ผ่านร​ เู​ล็กๆ ทีเ่​จาะไ​วเ้​พื่อบ​ อกเ​วลา (ตามภ​ าพป​ ระกอบท​ ี่ 6.22) ต่อม​ าจ​ ึงม​ กี​ ารป​ ระดิษฐน์​ าฬิกาท​ ีม่​ กี​ ลไกป​ ระเภท​
ที่​ใช้ต​ ัว​จักร​และ​ฟันเ​ฟืองอ​ าศัย​การ​ควบคุม​เวลาโ​ดย​การแ​ กว่ง​ของล​ ูก​ตุ้ม ต่อ​จาก​นั้น​การ​ประดิษฐ์น​ าฬิกา​จึงม​ ​ี
วิวัฒนาการต​ ่อม​ า​เรื่อยๆ จน​ใน​ปัจจุบัน​มีน​ าฬิกา​หลาย​ชนิดห​ ลายป​ ระเภท มี​ทั้ง​ประเภท​ที่ม​ ี​เข็ม​บอกเ​วลาแ​ ละ​
ไม่มี​เข็ม​บอก​เวลา คือ​มี​แต่​ตัวเลข​ปรากฏ​ให้​เห็น ตัวอย่าง​ของ​นาฬิกา​ใน​ปัจจุบัน​ได้แก่ นาฬิกา​ไฟฟ้า นาฬิกา​
ผลึก (Crystal Clock) นาฬิกาค​ อมพิวเตอร์ เป็นต้น
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92