Page 84 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 84

6-74 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์

เรื่อง​ท่ี 6.6.1 	แนวคิด​เก่ยี ว​กบั เ​วลา

       แนวคิดพ​ ื้น​ฐาน​ซึ่งเ​กี่ยวข้องก​ ับ​เวลา​ได้แก่ ลำ�ดับ​ของ​เหตุการณ์ กล่าว​คือ​เมื่อม​ ี​เหตุการณ์​สอง​อย่าง
(ซึ่ง​ไม่​เกิด​ขึ้น​ใน​ขณะ​เดียวกัน) เกิด​ขึ้น ย่อม​มี​ลำ�ดับ​ของ​การ​เกิด​เหตุการณ์​ที่​แน่นอน​ตายตัว​เสมอ นั่น​คือ​
เหตุการณ์​ใด​เหตุการณ์​หนึ่ง​ย่อม​เกิด​ขึ้น​ก่อน​อีก​เหตุการณ์​หนึ่ง​เสมอ และ​ใน​ระหว่าง​เหตุการณ์​ทั้ง​สอง​นั้น​
ย่อม​มี​ช่วง​ของเ​วลาเ​กิดข​ ึ้น

       นบั เ​ปน็ เ​วลาห​ ลายพ​ นั ปล​ี ว่ งม​ าแ​ ลว้ ท​ มี​่ นษุ ยพ​์ ยายามศ​ กึ ษาค​ น้ ควา้ เ​กีย่ วก​ บั เ​วลา ในอ​ ดตี กาลม​ นษุ ยผ​์ กู ​
เวลา​ไว้​กับ​ตนเอง จึง​ได้จ​ ัดล​ ำ�ดับเ​หตุการณ์​ออกเ​ป็น​อดีต ปัจจุบัน​และ​อนาคต แต่ต​ ่อม​ า​แนวคิด​เกี่ยวก​ ับเ​วลา​
เปลี่ยนแปลงไ​ป เวลา​กลาย​เป็น​สิ่ง​อิสระจ​ าก​มนุษย์ เริ่ม​จากอ​ ดีต​ที่​เป็นอ​ นันต์​ไป​ถึงอ​ นาคต​ที่เ​ป็น​อนันต์ ต่อ​มา​
ไอน์สไ​ตน์จ​ ึงเ​ป็นผ​ ู้ใ​หแ้​ นวคิดใ​หม่เ​กี่ยวก​ ับเ​วลาว​ ่า เวลาเ​ป็นเ​รื่องข​ องก​ ารร​ ับร​ ู้ กล่าวค​ ือเ​วลาจ​ ะไ​ม่มคี​ วามห​ มาย​
เลยถ​ ้าไ​ม่มี​เหตุการณ์เ​ข้าม​ า​เกี่ยวข้อง เช่น​เดียวก​ ับส​ ี สีจ​ ะ​ไม่มีค​ วาม​หมายเ​ลย​ถ้าไ​ม่ใ​ช้ต​ าด​ ู ดัง​นั้น ​จึง​กล่าวไ​ด้​
ว่า​เวลาย​ ่อมไ​ม่​เป็นอ​ ิสระจ​ ากล​ ำ�ดับ​เหตุการณ์ท​ ี่เ​กี่ยวข้อง​กับ​เวลาน​ ั้น

       มนุษย์​รู้จัก​การ​บอก​เวลา​หรือ​วัด​เวลา​มา​เมื่อ​หลาย​พันปี​ล่วง​มา​แล้ว โดย​อาศัย​การ​สังเกต​จาก​
ปรากฏการณ์​ธรรมชาติ ใน​สมัยด​ ึกดำ�บรรพ์ มนุษย์ต​ ้อง​ติดตามก​ ารผ​ ่านไ​ปข​ องว​ ัน​หนึ่งๆ เพื่อ​ให้​ตนเองท​ ราบ​
ว่า เมื่อใ​ดเ​ป็นเ​วลาล​ ่าส​ ตั วห​์ รือเ​มือ่ ใ​ดเ​ป็นเ​วลาห​ าท​ ี่พักอ​ าศยั มนุษยใ์​นย​ คุ โ​บราณร​ ูจ้ ักค​ วามแ​ ตกต​ า่ งก​ นั ร​ ะหวา่ ง​
กลางค​ ืน​และ​กลางว​ ัน และ​บางที​ก็​เป็นการพ​ อ​เพียงแ​ ล้ว​สำ�หรับย​ ุค​นั้น แต่​เมื่อ​ชีวิต​ประจำ�ว​ ัน​มี​ความซ​ ับ​ซ้อน​
มาก​ขึ้น การ​รู้​เวลา​อย่าง​แน่นอน​จึง​สำ�คัญ​มาก​ขึ้น เรื่อง​ที่​เรา​บอก​เวลา​ได้​อย่างไร เป็น​เรื่อง​ของ​ความ​เจริญ​
ก้าวหน้า​นั่นเอง ความ​รู้ใ​น​เรื่อง​ทิศทาง​และฤ​ ดูกาล​จึงเ​ป็นเ​รื่อง​สำ�คัญ ต่อม​ าม​ นุษย์​จึง​พัฒนา​เครื่องม​ ือ​สำ�หรับ​
วัด​เวลาข​ ึ้น ได้แก่ ปฏิทินแ​ ละ​นาฬิกา

       ปฏิทิน พจนานุกรม​ศัพท์​ภูมิศาสตร์​ฉบับ​ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2523 อธิบาย​ความ​หมาย​ของ​
ปฏิทินว​ ่า “ระบบก​ ารว​ ัด​แบ่งช​ ่วงเ​วลาใ​ห้เ​ป็น​วัน เดือน ปี โดยอ​ าศัย​หลักก​ าร​ทาง​ดาราศาสตร์ เพื่อใ​ช้​สำ�หรับ​
เป็นห​ น่วย​กำ�หนดน​ ับ​อายุ กำ�หนดพ​ ิธีการต​ ่างๆ และบ​ ันทึก​เหตุการณ์​ที่​สัมพันธ์ก​ ับช​ ีวิต​ประจำ�ว​ ันข​ องม​ นุษย์
ปฏิทินท​ ี่​นิยมใ​ช้ก​ ัน​ในป​ ัจจุบัน​คือ ปฏิทินแ​ บบเ​ก​รกอ​เรียน” ตามช​ ื่อ​ของส​ ันตะปาปา​เกร​ ก​อรี

       การใ​ช้ป​ ฏิทินเ​กร​ กอเ​รียนใ​นร​ ะยะแ​ รก (ค.ศ. 1582) จะใ​ชก้​ ันใ​นท​ ีซ่​ ึ่งส​ ันตะปาปา​มอี​ ำ�นาจ ยังไ​มไ่​ดใ้​ชท้​ ี​่
อื่น​ทั่วไป ประเทศอ​ ังกฤษ​และ​อาณานิคม​เริ่มใ​ช้​ใน ค.ศ. 1752 ส่วน​ประเทศ​รัสเซีย กรีซ และ​ประเ​ทศ​ อื่นๆ ซึ่ง​
ถือน​ ิก​ าย​ ออ​ ร์ท​ อด​ อกซ​ ์ (Orthodox) ยังค​ งใ​ช้ป​ ฏิทินจ​ ูเ​ลียนจ​ นถ​ ึง​ ค.ศ. 1923 ในป​ ระเทศท​ ี่ป​ ระชาชนส​ ่วนใ​หญ​่
ไม่น​ ับถือค​ ริสต์​ศาสนา ต่าง​ก็ม​ ี​ปฏิทิน​ของ​เขา เช่น ปฏิทิน​ของย​ ิว และ​โม​ฮัม​เม​ดาน (Mohammedan) จะ​ใช้​
หลัก​จากเ​ดือน​จันทรคติแ​ ละ​นับ​ปี​จาก​วันส​ ำ�คัญท​ าง​ประวัติศาสตร์

       ปฏิทินท​ ี่​พบเห็น​กันอ​ ยู่ใ​นป​ ัจจุบันม​ ี​ลักษณะ​การบ​ อกว​ ัน เดือน ปี 2 แบบ คือแ​ บบห​ นึ่งบ​ อก​วัน เดือน
ปี ทางส​ ุริยคติ ส่วนอ​ ีกแ​ บบห​ นึ่ง​บอก​วัน เดือน ปี ทั้งท​ างส​ ุริยคติ​และจ​ ันทรคติค​ วบคู่ก​ ัน​ไป
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89